www.tungsong.com
สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานของอำเภอ
การวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
สภาพปัญหาที่สำคัญและข้อจำกัดของอำเภอ
การเร่งรัดพัฒนาเศษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง
การเร่งขจัดปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
การเร่งรัดการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
การเร่งรัดส่งเสริมการท่องเที่ยว
การเร่งรัดและส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2540
การเร่งรัดและส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญพุทธศักราช 2540
ถ้ำตลอดงามตระการ อุทยานน้ำตกโยง โรงงานมากมี สถานีชุมทาง   ศูนย์กลางราชการ ทรงประทานพระคู่เมือง ลือเลื่องแม่กวนอิม
  การวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
       ในการวิเคราะห์และจัดลำดับความสำคัญของปัญหาของอำเภอ ทุ่งสง ได้ทำการรวบรวมข้อมูลจากแนวทางการพัฒนาจังหวัดประจำปีข้อมูลสภาพทั่วไปของอำเภอ ข้อมูลเพื่อการวางแผนพัฒนาอำเภอ (กชช.2 ข.) ข้อมูลตำบล ข้อมูลเพื่อการวาง แผนพัฒนาของหน่วยราชการส่วนท้องถิ่นในอำเภอ ข้อมูลสรุปผล กชช. 2 ค. ระดับอำเภอ และข้อมูลผลการประมวล จปฐ. ทั้งนี้ คณะกรรมการพัฒนาอำเภอ (กพอ.) ได้จัดกลุ่มปัญหา เป็น 7 กลุ่ม คือ
       1. กลุ่มปัญหาโครงสร้างพื้นฐาน
       2. กลุ่มปัญหาผลผลิต รายได้ และการมีงานทำ
       3. กลุ่มปัญหาสาธารณสุขและการอนามัย
       4. กลุ่มปัญหาความรู้ การศึกษา และวัฒนธรรม
       5. กลุ่มปัญหาแหล่งน้ำ
       6. กลุ่มปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
       7. กลุ่มปัญหาอื่นๆ
       ซึ่งสามารถจัดลำดับความสำคัญของปัญหาได้ดังนี้
  ข้อมูล กชช. 2 ค. ในภาพรวมของอำเภอทุ่งสง ปี 2542
  ตัวชี้วัด จำนวนหมู่บ้านจำแนกตามระดับของปัญหา
  มีปัญหามาก มีปัญหาปานกลาง มีปัญหาน้อย/ไม่มี
  กลุ่มโครงสร้างพื้นฐาน      
  1. เอกสารสิทธิ์ 7 1 99
  2. การมีไฟฟ้า 0 30 78
  3. การคมนาคม 0 2 106
  4. สิทธิในที่ดินทำกิน 11 33 19
  กลุ่มผลผลิตรายได้และการมีงานทำ      
  1. การประกอบธุรกิจในหมู่บ้าน 20 35 53
  2. การประกอบอาชีพและการมีงานทำ 5 9 94
  3. อัตราค่าจ้าง 0 2 105
  4. ผลผลิตจากการทำนา 13 48 2
  5. ผลผลิตจากการทำไร่ 0 1 15
  6. การประกอบอาชีพอื่นๆ 7 62 30
  7. การอพยพหางานทำ 10 29 61
  8. การรวมตัวของเกษตรกร 17 44 47
  4. การทำการเกษตรฤดูแล้ง 59 2 6
  กลุ่มสาธารณสุขและอนามัย
  1. การได้รับการคุ้มครองการบริโภคด้านยา 11 10 35
  2. การป้องกันโรคติดต่อ 2 19 87
  3. สุขภาพจิต 20 71 17
  4. การอนามัยสิ่งแวดล้อม 1 7 100
  5. การอาชีวอนามัย 20 21 67
  6. การมีส่วนร่วมด้านสุขภาพอนามัย 1 3 103
  กลุ่มแหล่งน้ำ
  1. น้ำสะอาดสำหรับดื่มและบริโภค 30 35 40
  2. น้ำใช้ 19 21 67
  3. น้ำเพื่อเกษตรกร 24 71 13
  กลุ่มความรู้ การศึกษา และวัฒนธรรม
  1. ระดับการศึกษาของประชาชน 1 14 93
  2. อัตราการเรียนต่อของประชาชน 12 33 62
  3. การให้ความรู้ของรัฐบาล 0 8 99
  4. สถานที่ให้ความรู้สำหรับหมู่บ้าน 14 36 58
  5. สถานที่ให้บริการด้านข้อมูลข่าวสาร 16 63 29
  6. กิจกรรมทางศาสนา วัฒนธรรมและกีฬา 23 61 24
  กลุ่มทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
  1. ป่าไม้ 5 10 2
  2. ดิน 16 65 21
  3. น้ำ 2 78 13