![]() |
ความเป็นมา | พระราชประวัติ ร.5 | พระบิดาแห่งการรถไฟไทย |
พระบรมราชานุสาวรีย์ ร.5 | หัวรถจักรไอน้ำประวัติศาสตร์ | ประมวลภาพ |
ประมวลภาพ |
![]() |
พื้นที่การรถไฟแห่งประเทศไทยด้านทิศตะวันออกของสถานีชุมทางทุ่งสง เนื้อที่ 16 ไร่เศษ ได้รับการบุกเบิก เพื่อก่อสร้างสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา |
บริเวณฐานพระบรมราชานุสาวรีย์พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งออกแบบโดยกรมศิลปากร | ![]() |
![]() นายกเทศมนตรีตรวจความเรียบร้อยในการรก่อนสร้าง |
![]() |
![]() |
![]() |
การรถไฟแห่งประเทศไทย นำหัวรถจักยี่ห้อ แปซิฟิค (ฮาโนแมค) หมายเลข 277 ซึ่งเป็นหัวรถจักรประวัติศาสตร์ของการรถไฟ ตั้งเด่นเป็นสง่าอยู่ภายในสวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบพระชนมพรรษา |
![]() ขบวนแถวข้าราชการผู้ใหญ่ ประกอบพิธีอัญเชิญพระบรมราชานุสาวรีย์ ณ ศาลจังหวัดทุ่งสง |
![]() นายนิคม มุสิกะคามะ อธิบดีกรมศิลปากร (สวมสูท) เดินทางมาพร้อมกับพระบรมราชานุสาวรีย์ |
![]() รถเครนยกพระบรมรูปราชานุสาวรีย์ รัชกาลที่ 5 ขึ้นประดิษฐานชั่วคราว ณ ศาลจังหวัดทุ่งสง เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2542 |
![]() พันเอก ชุมพล จินดาโชติ นายกเทศมนตรี มอบของที่ระลึกให้กับอธิบดีกรมศิลปากร |
![]() พิธีอัญเชิญพระบรมราชานุสาวรีย์ ประดิษฐานชั่วคราว ณ ศาลจังหวัดทุ่งสง |
![]() ขบวนข้าราชการ พ่อค้า ประชาชนทุกหมู่เหล่า ร่วมขบวนแห่ |
![]() ประกอบพิธีพราหมณ์ในวันวางศิลาฤกษ์ และอัญเชิญพระบรมราชานุสาวรีย์ประดิษฐานเป็นการถาวร ณ สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 รอบ พระชนมพรรษา วันที่ 10 กรกฎาคม 2542 |
![]() ฯพณฯ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประธานองคมนตรี และรัฐบุรุษ เป็นประธานในพิธีวางศิลาฤกษ์และอัญเชิญพระชรมราชานุสาวรีย์ ขึ้นประดิษฐานบนแท่นฐาน พระบรมราชานุสาวรีย์ |
![]() 23 ตุลาคม วันปิยะมหาราช |
![]() ข้าราชการ ประชาชน ร่วมพิธีวันปิยะมหาราช |