|
สภาพทั่วไป
| ประวัติเทศบาล
|
โครงสร้างพื้นฐาน
|
ด้านเศรษฐกิจ
| ด้านสังคม |
ด้านการเมืองการบริหาร
| |
|
ข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
|
|
ด้านโครงสร้างพื้นฐานขอเทศบาลเมืองทุ่งสงมุ่งพัฒนาศักยภาพ
และลักษณะทางกายภาพปรับปรุงพื้นที่และการก่อสร้างสาธารณูปการส่งเสริมให้เกิดความสวยงาม
และเสริมสร้างบรรยากาศการท่องเที่ยว
และให้มีความน่าอยู่อาศัยเอื้ออำนวยให้เกิดความสะดวก ปลอดภัย
โครงสร้างพื้นฐานในเขตเทศบาล มีดังนี้
การคมนาคม การจราจร
เทศบาลเมืองทุ่งสง การคมนาคมทางบกจะมีทางหลวงต่างๆ
และทางรถไฟเป็นทางติดต่อกับชุมทางต่าง ๆ
ทั้งในเขตเทศบาลและนอกเขตได้อย่างสะดวก การคมนาคมรถไฟมีสถานีรถไฟ
ชุมทางทุ่งสงเป็นสถานีที่สำคัญ และสะดวกในการเดินทางเข้ามาในเขตเทศบาล
ส่วนการคมนาคมทางรถยนต์สามารถเดินทางตามทางหลวงแผ่นดิน หมายเลข
41 (สายเอเซีย
–สุราษฎร์ธานี
อำเภอร่อนพิบูลย์)
เป็นเส้นทางคมนาคมที่เชื่อมติดต่อระหว่างอำเภอทุ่งสงและจังหวัดนครศรีธรรมราช
ส่วนทางหลวงแผ่นดินหมายเลข
403 (เขตเทศบาลเมืองทุ่งสง
อำเภอห้วยยอดจังหวัดตรัง)
เริ่มจาก เทศบาลเมืองทุ่งสง ตำบลปาก แพรก อำเภอทุ่งสง
ผ่านตำบลชะมาย ตำบลที่วัง ตำบลกะปาง ไปอำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
และทางหลวงจังหวัดหมายเลข
4110
เชื่อมการคมนาคมระหว่างอำเภอทุ่งใหญ่ จังหวัดนครศรีธรรมราช
กับอำเภอทุ่งสง เป็นต้น
|
|
โทรคมนาคม ได้แก่

โทรศัพท์
อินเตอร์เน็ต
การสื่อสาร
โทรศัพท์ส่วนบุคคลในพื้นที่
โทรศัพท์สาธารณะในเขตพื้นที่
จำนวนชุมสายโทรศัพท์ในเขตพื้นที่ 5 ชุมสาย คือทุ่งสง นาบอน ที่วัง
ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร ควนไม้แดง
ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข 1 พื้นที่ คือที่ทำการไปรษณีย์ทุ่งสง
|
สถานีวิทยุกระจายเสียง และสถานีวิทยุโทรทัศน์ ในเขตเทศบาล
และสามารถติดตาม ข่าวสารจากสถานีนอกเขตพื้นที่
หอกระจายข่าวในพื้นที่ให้บริการครอบคลุม 14 ชุมชน ตามจุดต่าง ๆ
|
หน่วยงานที่มีข่ายวิทยุสื่อสารในพื้นที่ 6
แห่ง ดังนี้
สถานีตำรวจภูธรอำเภอทุ่งสง
สถานีรถไฟชุมทางทุ่งสง
เทศบาลเมืองทุ่งสง (คลื่นบรรเทาฯ)
ที่ว่าการอำเภอทุ่งสง, อปพร
มูลนิธิต่าง ๆ (ประชาร่วมใจ,ไต้เต๊กตึ้ง,สว่างธรรมสถาน)
|
|
ก่อนหน้า |
หน้าต่อไป |