http://www.tungsong.com

ที่มาของโครงการ | คุณลักษณะที่สำคัญของนวัตกรรมท้องถิ่น | วัตถุประสงค์และเป้าหมาย | ความสำคัญของโครงการ | ขั้นตอนและกิจกรรมหลักที่ได้ดำเนินการ | งบประมาณ
ผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่ได้ | ปัญหาอุปสรรค | ปัจจัยแห่งความสำเร็จ | ข้อเสนอแนะ | รางวัลนวัตกรรมท้องถิ่น | ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 

ผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่ได้จากนวัตกรรมท้องถิ่น

ประเภทผลผลิต/ผลลัพธ์

ตัวชี้วัดผลผลิต/ผลลัพธ์

จำนวนหน่วย/ปริมาณงานที่บรรลุผลหรือปริมาณผลผลิตผลลัพธ์

(๑)     แก้ปัญหาน้ำแล้งอย่างถาวร

น้ำด้านหน้าฝาย

ยกระดับน้ำในคลองได้ 1 – 1.50 เมตร

(๒)     ระบบนิเวศลำคลอง พืชและสัตว์ในคลองและริมคลองเพิ่มขึ้น สัตว์น้ำใกล้สูญพันธุ์เช่น ปลาหุด ปลากระทิง กลับคืน

-       ปริมาณสัตว์น้ำที่เพิ่มขึ้น

-       ปริมาณน้ำหล่อเลี้ยงระบบนิเวศคลองเพิ่มขึ้น

จากผลการศึกษาโดย มทร.ศรีวิชัย พบว่าปริมาณสัตว์น้ำเพิ่มขึ้น พบเบื้องต้น 41 ชนิด สังเกตพบว่า ปลาหูด ซึ่งเป็นปลาพื้นถิ่นทีกำลังจะสูญพันธ์กลับเพิ่มปริมาณที่บริเวณฝายมีชีวิต พืชริมฝั่ง และบนภูเขายายสีหวังมีความชุ่มชื้นพรรณไม้อุดมสมบูรณ์ เจริญเติบโต โดยเฉพาะดอกนนทรีที่ร้างดอกมาหลายปี ก็มีดอกผลิให้ชม

(๓)     น้ำดิบทำน้ำประปาชุมชน

ปริมาณน้ำที่เพิ่มขึ้นในคลอง

ชุมชนและสวนสาธารณะ สวนพฤกษาสิรินธรพื้นที่ 150ไร่ มีน้ำใช้เพียงพอ

(๔)      เด็ก เยาวชน และประชาชนได้เรียนรู้เรื่องระบบนิเวศ และการจัดการน้ำเชิงนิเวศ

จำนวนผู้ใช้บริการ ฐานกิจกรรม ฝายมีชีวิตที่ชุมทางลดโลกร้อนทุ่งสง

มีผู้ใช้บริการ 21 คณะ

รวมจำนวน 2,450 คน

 

(๕)     ร่วมดำเนินงานเครือข่าย ฝายมีชีวิต

เข้าร่วมกิจกรรมขยายเครือข่ายมีชีวิตอย่างสม่ำเสมอ

ร่วมเชื่อมโยงบทเรียนเครือข่ายฝายมีชีวิตสู่การจัดการน้ำระดับประเทศ 2 ครั้ง

ร่วมถ่ายทอดความรู้เรื่องแผนที่น้ำ และการจัดทำข้อมูลระบบนิเวศแก่ท้องถิ่นอื่น จำนวน 3 ครั้ง   

ร่วมให้ความรู้และจัดฐานกิจกรรมในสถานศึกษา จำนวน 1 ครั้ง