ช่วงเวลา (เดือน/ปี/พ.ศ.) |
กิจกรรมหลักที่ได้ดำเนินการในแต่ละขั้นตอน
(หากแบ่งการต่อยอดให้ระบุให้ชัดเจนว่าเมื่อไรเพิ่ม) |
หน่วยงาน/แสดงบทบาทที่เกี่ยวข้องในแต่ละขั้นก่อน |
18 – 19 สิงหาคม 2557 |
จัดอบรมเชิงปฏิบัติการสร้าง”ฝายมีชีวิตในเมือง”
เชิญผู้คิดค้นนวัตกรรมมาเป็นผู้ถ่ายทอด
ร่วมกับการทำเวทีประชาเข้า |
-
เทศบาลจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ
-
สโมสรไลอ้อนนครศรีฯ สมทบทุนซื้อวัสดุ
-
GIZ สนับสนุนค่าอาหาร
-
บริษัทผาทอง สนับสนุนผลไม้
-
ปะชาชน ชมชน สนับสนุนน้ำดื่ม |
18สิงหาคม 2557
– มกราคม 2558 |
ก่อสร้างฝายมีชีวิตคลองท่าแพ บริเวณชุมทางลดโลกร้อนทุ่งสง
สวนพฤกษาสิรินธร |
-
เทศบาลจัดหาวัสดุ ได้แก่ ทราย,กระสอบ, เชือก
-
ประชาชนสนับสนุนไม้ไผ่ แรงงาน
-
เรือนจำทุ่งสง ค่ายเทพสตรีศรีสุนทร สนับสนุนแรงงาน |
ทำไปพร้อม ๆ กับการสร้างฝาย |
จัดทำแผนที่น้ำ
จัดทำฐานข้อมูลระบบนิเวศชุมชนบ้านในหวัง
ทะเบียนต้นไม้ในสวนพฤกษาสิรินธร
ทำวังปลาเพื่อขยายพันธุ์ปปลา |
-
กองช่างเทศบาล
-
ชุมทางลดโลกร้อน
-
ชุมชนบ้านในหวัง
-
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตนครศรีธรรมราช |
กุมภาพันธ์
2558 |
ใช้พื้นที่ฝายเป็นห้องเรียน ฐานกิจกรรม
การเรียนรู้การจัดการน้ำ การจัดการระบบนิเวศด้วยฝายมีชีวิต
ในศูนย์เรียนรู้ชุมทางลดโลกร้อนทุ่งสง |
-
เจ้าหน้าที่งานห้องสมุด พิพิธภัณฑ์และเครือข่ายทางการศึกษา |
กุมภาพันธ์
2558 |
สร้างฝายมีชีวิตคลองท่าเลาบริเวณด้านหน้าหอสมุดประชาชนเทศบาลเมืองทุ่งสง
ยกระดับน้ำสูง
1
เมตร ยาว 20 เมตร
ใช้เทคนิคบันไดนิเวศหน้าหลัง ไม่มีตัวฝาย |
-
แรงงานจากเรือนจำทุ่งสง ค่าวัสดุจากเทศบาลเมืองทุ่งสง
ไม้ใผ่จากประชาชน |
มีนาคม
2558 |
ปลูกต้นไม้บริเวณหูช้างและพื้นที่สองฝั่งคลองท่าแพ |
-
ภาคีเครือข่ายเมืองทุ่งสง |
สิงหาคม
2558-เมษายน 2559 |
สร้างฝายโหล๊ะตีด คลองท่าโหลน เพื่อแก้ปัญหาน้ำ
ฟื้นคืนระบบนิเวศหนองป่าแก่ |
-
แรงงานจากเรือนจำทุ่งสง ค่าวัสดุจากเทศบาลเมืองทุ่งสง
ไม้ใผ่จากประชาชน |
ดำเนินการต่อเนื่อง ประมาณ
4
เดือนครั้ง |
ซ่อมแซมปรับปรุงฝายมีชีวิตคลองท่าแพ คลองท่าโหลน
ปลูกต้นไม้เพิ่ม |
-
แรงงานจากเรือนจำทุ่งสง ค่าวัสดุจากเทศบาลเมืองทุ่งสง
ไม้ใผ่จากประชาชน |
กุมภาพันธ์
2559 |
ทำเวทีประชาเข้าใจชุมชนเขาปรีดี และชุมชนเสริมชาติ
|
-
ค่าอาหารเครื่องดื่มโดยชุมชนเขาปรีดี และชุมชนเสริมชาติ
-
จัดเวทีโดยวิทยากรจากสถาบันการเรียนรู้เพื่อจัดการตนเอง
|
เมษายน
2559 |
ก่อสร้างฝายมีชีวิตชุมชนเขาปรีดี คลองท่าเลา |
-
วิทยากรสร้างฝายจากเครือข่ายเทศบาลตำบลกะปาง
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลวิทยาเขตนครศรีธรรมราช
และชุมทางลดโลกร้อน
-
แรงงานจากเรือนจำ ประชาชนและเยาวชนในชุมชนเขาปรีดี
งานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาลเมืองทุ่งสง ทหาร
ตำรวจตระเวนชายแดน และประชาชนชุมชนอื่น ๆ
-
ค่าอาหารและวัสดุจากเงินสนับสนุนจากประชาชน กลุ่ม ชมรม
และเทศบาลเมืองทุ่งสง |
กิจกรรมเผยแพร่ผลการให้บริการฐานเรียนรู้ ฝายมีชีวิตในเวปไซด์www.tungsong.com |