http://www.tungsong.com
 
ยินดีต้อนรับสู่.....อำเภอเฉลิมพระเกียรติ
แบบรายงานผลการดำเนินงานตามนโยบายและแนวทางการบริหารราชการของผู้ว่าราชการจังหวัดนครศรีธรรมราช
ประเด็นนโยบาย/หน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไป
ปัญหา/อุปสรรค
กิจกรรม/แนวทางแก้ไข
1.เร่งรัดพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนพึ่งตนเอง ดำเนินการใน 4ตำบล 35 หมู่บ้าน 1)ประชาชนขาดความต่อเนื่องในการดำเนินการตามกระบวนการประชาคมทุกระดับ ทำให้ 1)จัดตั้งเวทีชาวบ้าน และสร้างกระบวนการประชาในทุกระดับให้มีความต่อเนื่อง
- ที่ทำการปกครองอำเภอ - รายได้เฉลี่ยของอำเภอ 11,650 บาท ต่อคนต่อปี 1.1 กระบวนการเรียนรู้ของชุมชน การพัฒนาการแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ของชุมชนขาดความต่อเนื่องไม่เป็นรูปธรรม 2) พัฒนาองค์กรชุมชนและองค์กรประชาชน อาทิเช่น ชมรม อช. ชมรมกลุ่มออมทรัพย์
- สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอ - ครัวเรือนยากจน 4,240 ครัวเรือน 1.2 ขาดการวางแผนในการดำเนินชีวิตของประชาชนและชุมชน 3) การระดมทุน
- เป้าหมายยกระดับคุณภาพชีวิตตามเกณฑ์ความจำเป็นพื้นฐาน (จปฐ) ประชาชนพึ่งตนเองได้ในทุกด้าน 1.3 การมองข้ามและละเลยศักยภาพของปราชญ์ชาวบ้านหรือภูมิปัญญาท้องถิ่น 3.1 สนับสนุนเงินทุนตามโครงการ กข. คจ.(มีจำนวน 24 หมู่บ้าน)
1.4 ขาดความเชื่อมั่นในการประกอบอาชีพหลักและอาชีพเสริม 3.2 การจัดการและพัฒนาเครือข่าย กข.คจ.
2) โครงสร้างทางสังคม (Social Structure) เปลี่ยนแปลงไป การพึ่งพา-เกี่ยวรัดกันในสถาบันครอบครัว ชุมชน เริ่มเสื่อมสลายทำให้ 3.3 การให้ความรู้เรื่องเงินทุนและการตลาด
2.1 ความสัมพันธ์และเอื้ออาทรในท้องถิ่น ชุมชน ลดน้อยลง 4) การจัดรวมกลุ่มอาชีพ ปัจจุบันมีกลุ่มอาชีพทั้งสิ้น 21 กลุ่มอาชีพ อาทิเช่น
2.2 มีการแบ่งพรรค แบ่งพวก เพราะกระบวนการทางการเมืองระดับท้องถิ่นและระดับชาติ 4.1 การผลิตข้าวหลาม 2 กลุ่ม
3) ขอจำกัดของสภาพพื้นที่ 4.2 กลุ่มมาลัยดอกมะลิ
3.1 ประชาชนขาดเงินทุนในการประกอบอาชีพ 4.3 กลุ่มข้าวซ้อมมือ
3.2 ขาดโอกาสในการเลือกอาชีพ 4.4 กลุ่มจัดทำดอกไม้จัน ฯลฯ
3.3 ต้นทุนการผลิตสูงและขาดความรู้ในเรื่องการตลาด
4) อื่น ๆ
4.1 การประกอบอาชีพนอกพื้นที่ ทำให้การพัฒนาตำบลหมู่บ้านมีน้อย

 
ประเด็นนโยบาย/หน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไป
ปัญหา/อุปสรรค
กิจกรรม/แนวทางแก้ไข
  2.เร่งขจัดปัญหาความไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน กลุ่มเป้าหมาย 1) คนนอกพื้นที่เข้ามาโจรกรรม 1) จัดชุม ชมส. เชื่อมความสัมพันธ์ในพื้นที่ทุกพื้นที่
  - สภ.อ.เฉลิมพระเกียรติ ต.ดอนตรอ 2) คนในพื้นที่เป็นสายให้คนนอกเข้ามาโจรกรรมคนร้ายได้เปรียบทั้งสภาพพื้นที่และสิ่งแวดล้อม 2) ชมรมสมาชิกแจ้งข่าวอาชญากรรม
  ต.ทางพุน 3) ตำรวจขาดเครื่องมือในการปราบปราม 3) จัดสายตรวจตลอด 24 ชั่วโมง
  ต.เชียรเขา - สถานีตำรวจ 4) ตั้งจุดตรวจและสกัดทั้งรถจักรยานยนต์และสายตรวจรถยนต์
  ต.สวนหลวง - รถยนต์/รถจักรยานยนต์
  ชุมชนป่าหวาย - เงินล่อซื้อยาเสพติด
  คนร้ายโจรกรรมรถยนต์ รถจักรยานยนต์ รถไถนา

 
ประเด็นนโยบาย/หน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไป
ปัญหา/อุปสรรค
กิจกรรม/แนวทางแก้ไข
  3.เร่งรัดการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 1) จำนวนกลุ่มเป้าหมายมี 5กลุ่มดังนี้ 1) ขาดความสนใจของประชาชนในกลุ่มร่วมกันจัดตั้งประชาคม ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในระดับหมู่บ้าน 1) ทุกส่วนราชการ ภาคเอกชน ตลอดจนประชาชนต้องร่วมมือร่วมใจกันจัดตั้งแกนนำต่อต้านยาเสพติดทุกหมู่บ้าน ตำบล
  - สำนักงานศึกษาธิการอำเภอ - ทางพูน-โคกครม 2) ขาดการดำเนินงานต่อเนื่อง ไม่มีแกนนำในการร่วมดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในระดับหมู่บ้าน ตำบล 2) สร้างความต่อเนื่องในกระบวนการประชาคม
  - สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ - ดอนตรอ ป่าหวาย 3) ประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด 3) กระตุ้นเสนอแนะ อสม.จัดทำโครงการให้ความรู้ ในการป้องกันยาเสพติดในการดำเนินงานสาะารณสุขมูลฐาน
  - ที่ทำการปกครองอำเภอ - สวนหลวง 4) ครอบครัวขาดความรู้ในการดูแลรักษาผู้ติดยาเสพติด 4) จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับยาเสพติดในการประชุมประจำเดือนของ อสม.
  - ผู้เสพและจำหน่ายรายย่อย 5) สถานศึกษาไม่สามารถดูแลนักเรียนได้อย่างใกล้ชิดเพราะมีข้อจำกัดด้านสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างจำนวนครูต่อนักเรียน 5) จัดหาสถานที่บำบัดและฟื้นฟูทางจิต
  - ยาบ้า กัญชา กระท่อม 6) ผู้บริหารสถานศึกษา ครูอาจารย์ รวมทั้งผู้ปกครองมักปกปิดข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับยาเสพติดเนื่องจากกลัวเสื่อมเสียชื่อเสียง ทำให้ไม่สามารถแก้ปัญหาได้อย่างจริงจัง 6) ร่วมกับชุมชนในการคัดเลือกสถานที่บำบัดทางจิตและประชาสัมพันธ์ให้เป็นที่รู้จัก
  2) สถานศึกษาในเขตทั้งหมด 20 แห่ง แบ่งเป็น 1. ขาดการดำเนินงานต่อเนื่อง ไม่มีแกนนำในการร่วมดำเนินงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 7) ร่วมจัดเข้าค่ายอบรมเยาวชนต่อต้านยาเสพติด
  1. สถานศึกษาสังกัด สปช. 18 โรง 1 สาขา 2. ประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับยาเสพติด 8) ควรเพิ่มจำนวนบุคลากรครูให้มีอัตราที่เหมาะสมกับจำนวนนักเรียนเพื่อให้สามารถดูแลนักเรียนได้อย่างใกล้ชิดและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
  2. สถานศึกษาสังกัดกรมสามัญศึกษา 2 โรงจำนวนนักเรียนทั้งหมด 5,361 คน มีนักเรียนกลุ่มเป้าหมายที่ยังมีการใช้สารเสพตอดจำนวน 152 คน แบ่งเป็น 3. ครอบครัวขาดความรู้ในการดูแลรักษาผู้ติดยาเสพติด 9) ทำความเข้าใจกับผู้บริหารสถานศึกาาและผู้ปกครองเพื่อไม่ให้ปกปิดข้อมูลที่เป็นความจริง เพื่อร่วมมือกันแก่ไขปัญหาให้หมดไปอย่างจริงจังเพื่อร่วมมือกันแก้ไขปัญหาให้หมอไปอย่างจริงจังและทันเวลา
  1. ระดับประถมศึกษาเพชชายจำนวน 32 คน โดยสารเสพติดที่ใช้มียาบ้า จำนวน 7 คน สารระเหยจำนวน 5 คน เหล้าบุหรี่ จำนวน 20 คน 4. ไม่มีสถานที่บำบัด 10) ให้สถานศึกษารณรงค์ให้ความรู้ความเข้าใจกับนักเรียนถึงโทษของการเสพสารเสพติดอย่างจริงจังและต่อเนื่อง
  2. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นเพศชายจำนวน 56 คนมียาเสพติดประเภทกัญชา จำนวน 5 คนยาบ้า 13 คน สารระเหยจำนวน 13 คน เหล้าบุหรี่ 25 คน 5. เยาวชนขาดความเข้าใจและตระหนักในพิศยาเสพติด
  3. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเพศชายจำนวน 64 คน มียาเสพติดประเภทกัญชาจำนวน 4 คนยาบ้า 15 คน สารระเหย 15 คน เหล้าบุรี่ 30 คน
  3. การดำเนินการ
  1) อบรมแกนนำต่อต้านยาเสพติด จำนวน 7 หมู่บ้าน ๆ ละ 40 คน รวม 280 คน
  2) ประชุมให้ความรู้ อสม. ในการป้องกันยาเสพติดจำนวน 484 คน
  3) อบรมเยาวชนโดยร่วมมือกับโรงเรียน วัด ส่วนราชการต่าง ๆ ภาคเอกชน เพื่ออบรมให้ความรู้แก่เยาวชนทั้งในระบบและนอกระบบโรงเรียน เพื่อให้ความรู้แก่เยาวชนเกี่ยวกับการป้องกันภัยของยาเสพติด

 
ประเด็นนโยบาย/หน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไป
ปัญหา/อุปสรรค
กิจกรรม/แนวทางแก้ไข
  4. เร่งรัดการดำเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ สรุปความก้าวหน้าการดำเนินงานตามโครงการพัฒนาการส่งเสริมการเกษตรในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดำริ 1. สภาพดินเปรี้ยว 1. จัดตั้งกลุ่มของเกษตรกร ดังนี้
  - สำนักงานเกษตรอำเภอ 1. กิจกรรมไร่นาสวนผสม พื้นที่ดำเนินการทั้งหมด 3,675 ไร่ จำนวนเกษตรกร 1,105 ราย (ปี 2537-2543) 2.ราคาผลผลิตตกต่ำ 1.1 กลุ่มเกษตรกร
  2. กิจกรรมปรับปรุงนาเดิมปรับปรุงนาเดิมเกษตรกร 10 ราย จำนวน 400 ไร่ 3. ขาดเงินทุนในการดำเนินงาน - กลุ่มเกษตรกรทำนาดอนตรอ
  3. กิจกรรมปรับปรุงประสิทธิภาพการผลิตข้าวเกษตรกรจำนวน 782 ราย เนื้อที่ 6,430 ไร่ (ปี 2540-2543) 4. ภัยธรรมชาติ - กลุ่มเกษตรกรทำนาเชียรเขา
  4. กิจกรรมแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรแปรรูปผลผลิตจำนวน 5 กลุ่ม ประกอบด้วย หมู่ท5 ต.ดอนตรอ หมู่ที่ 1,11 ต.สวนหลวง หมู่ที่ 5 ต.เชียรเขา หมู่ที่ 2 ต.ทางพูนี่ 5. การระบาดของโรคและแมลงศัตรูพืช 1.2 กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
  ผลประโยชน์ที่คาดว่าเกษตรกรจะได้รับ - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรยางยวนพัฒนา
  1. การทำไร่นาสวนผสม มีรายได้เพิ่มขึ้นกว่าการทำการเกษตรเพียงอย่างเดียว รายได้เฉลี่ยประมาณ 30,000 - 40,000 บาท ต่อครัวเรือนต่อปี - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทางพูน
  2. ทำให้เกษตรกรใช้เวลาหลังจากฤดูทำนาลงแปลงไร่นาสวนผสมเป็นการเพิ่มรายได้อีกทางหนึ่ง - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรใต้หล้า
  3. ทำให้เกษตรกรได้ใช้พื้นที่บนสันร่องของแปลงไร่นาสวนผสมปลูกพืชผักเสริมรายได้ให้แก่ตัวเกษตรกรอีกด้วย - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรหนำหย่อม
  4. ลดปัญหาการว่างงานของเกษตรกร - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรหนองบ่อ
  5 ทำให้เกษตรกรปลูกพืชได้หลากหลายและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น. - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทุ่งเฟื้อ
  6. ทำให้เกษตรกรมีอาชีพที่ยั่งยืนและมั่นคงตลอดไป - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสระกา
  - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรสวนหลวง
  - กลุ่มแม่บ้านเกษตรกรทุ่งคาสามัคคี
  1.3 กลุ่มยุวเกษตร
  - กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนทางพูน
  - กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนวัดดอนตรอ
  - กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนหนองไม่แก่น
  2. การจัดตั้งธนาคารหมู่บ้าน จำนวน 5 แห่ง
  - ธนาคารหมู่บ้านทุ่งเฟื้อ
  - ธนาคารหมู่บ้านทุ่งสร้าน
  - ธนาคารหมู่บ้านดอนยาง
  - ธนาคารหมู่บ้านสวนหลวงสามัคคี
  - ธนาคารหมู่บ้านทางพูน

 
ประเด็นนโยบาย/หน่วยงาน
ข้อมูลทั่วไป
ปัญหา/อุปสรรค
กิจกรรม/แนวทางแก้ไข
  5. เร่งรัดและส่งเสริมการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 ที่ทำการปกครองอำเภอ อำเภอเฉลิมพระเกียรติได้จัดทำโครงการชูธงประชาธิปไตย เพื่อรณรงค์เรื่องการเลือกตั้งตลอดจนให้ความรู้ทางการเมืองการปกครองแก่ประชาชน 1. บางพื้นที่ได้รับผลกระทบจากอุทกภัยทำให้ได้รับความสนใจจากประชาชนไม่เต็มที่  การดำเนินการโครงการชูธงเพื่อประชาธิปไตย โดยการดำเนินการรณรงค์ประชาสัมพันธ์การดำเนินการเลือกตั้ง ส.ส.โดยร่วมกับองค์กรประชาคมหมู่บ้านทุกหมู่บ้าน จำนวน 35 หมู่บ้าน
  2 ขาดการประสานสนับสนุนด้านข้อมูลระเบียบ ข้อกฏหมายจาก กกต.
กลับสู่หน้าแรก