![]() |
|
![]() |
|
ชื่อท้องถิ่น |
กรุงบาดาล(สุราษฎร์ธานี), คะนาง, ชะนาง(ตราด), ตรึงบาดาล(ปัตตานี),ตุวุเบ๊าะมิง, ตูวูวอมิง(นราธิวาส), ตุงสอ, แฮพันชั้น(เหนือ), เพียก(ใต้), หยิกบ่อถอง, หยิกไม่ถึง, เอียนดอน(ตะวันออกเฉียงเหนือ), ไหลเผือก(ตรัง) |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Eurycoma longifolia Jack. |
วงศ์ |
SIMAROUBACEAE |
ชื่อสามัญ |
|
ลักษณะ |
เป็นไม้ยืนต้น สูง 4-6 เมตร ลำต้นตรง ไม่แตกกิ่ง ใบ ประกอบแบบขนนก เรียงสลับออกเป็นกระจุกบริเวณปลายกิ่ง ใบย่อยรูปไข่แกมวงรี กว้าง 2-3 ซม. ยาว 5-7 ซม. สีเขียวเข้ม ดอก ออกเป็นช่อที่ซอกใบ ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสีม่วงแดง ผล เป็นผลสด รูปยาวรี |
การขยายพันธุ์ |
ใช้เมล็ดหรือกิ่งตอน ขึ้นได้ในดินทุกชนิด โดยเฉพาะในพื้นที่ ๆ มีน้ำอุดมสมบูรณ์ ความชุ่มชื้นสูง ไม่ชอบอากาศหนาว การปลูกควรเริ่มในฤดูฝน อาจยกร่องหรือปลูกกับพื้นดินทั่วไป |
ส่วนที่นำมาเป็นยา |
ราก |
สารเคมีและสารอาหารที่สำคัญ |
ยูริโคม่าแล็คโตน (eurycoma-lactone), บี-ไซโตสตีรอล (B-sitosterol), แคมเปสตีรอล (campesterol) และ สติมาสตีรอล (stigmasterol) |
สรรพคุณทางยา และวิธีใช้ |
![]() |
ข้อระวัง |
ไม่มีรายงานยืนยันเกี่ยวกับสรรพคุณทางเภสัชวิทยา และการศึกษาทางคลีนิค |
บัวบก | ![]() |
![]() |
![]() |
ผักบุ้งทะเล |