http://www.tungsong.com
Home
| Guestbook
|Local Agenda 21
|Download Document
เส้นทางศึกษาอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง

การใช้ที่ดินและแบ่งส่วนใช้สอย
      พื้นที่แบ่งออกเป็น 3 ส่วนดังนี้
            ส่วนราชการ เป็นแหล่งรวบรวมข้อมูลทางวิชาการ มีดังนี้ ที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง, ห้องพัสดุ, ห้องวิทยุ, ห้องประชุม, ลานจอดรถเจ้าหน้าที่และชุดม้านั่ง
            ส่วนบ้านพัก บ้านพักมีไว้สำหรับบริการนักท่องเที่ยว ที่มาใช้บริการและต้องการพักผ่อนหรือค้างคืน และบ้านพักที่มีไว้สำหรับเจ้าหน้าที่
            ส่วนบริการและนัทนาการ ซึ่งสร้างความสะดวกและความสวยงาม และความประทับใจให้แก่ผู้ใช้บริการ ทั้งบุคคลภายในและภายนอกพื้นที่โครงการ เช่น ที่จอดรถ, โรงอาหาร, พื้นที่พักผ่อน, ห้องน้ำ, หอประชุม
แผนที่แสดงที่ตั้งที่ทำการศูนย์บริการ บ้านพัก แหล่งท่องเที่ยว เส้นทางศึกษาธรรมชาติและอื่น ๆ


เส้นทางเพื่อสื่อความหมาย (Iterpretive Trail)
            เป็นเครื่องมือทางการศึกษาอย่างหนึ่งที่จะมีความรู้แก่ประชาชนทั่วไป สามารถจัดสร้างได้ในเขตสงวนประเภทต่าง ๆ เช่น อุทยานแห่งชาติ วนอุทยาน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้ามล่าสัตว์ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติ ปกติเส้นทางในป่ามีหลายประเภทเช่น ทางเดินชมป่า ทางจักรยาน ทางขี่ม้า ทางน้ำมี ทางเรือ ทางใต้น้ำ เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีทางสำหรับคนพิการ เส้นทางดังกล่าวมีจุดประสงค์เพื่อ ใช้เป็นทางชมวิว เดินออกกำลังกาย เพื่อหาความเพลิดเพลินกับธรรมชาติ แต่เส้นทางเพื่อสื่อความหมายโดยเฉพาะนั้นมีความมุ่งหมายพิเศษ เนื้อหาสาระควรแก่การเข้าแวะชม นักท่องเที่ยวจะได้ความรู้หลายประการ อันจะทำให้เกิดความเข้าใจในด้านการอนุรักษ์มากขึ้น
เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติ
        เป็นเส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติระยะใกล้ เน้นถึงการสื่อสารความหมายธรรมชาติอย่างเป็นระบบเพื่อให้ความรู้งาย ๆ แก่นักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินชมธรรมชาติ ในระยะทางที่ไม่ไกลและไม่ลำบากเกินไป เส้นทางแบ่งออกเป็น 1 แบบคือ
            1. เส้นทางเดินศึกษาธรรมชาติที่มีนักสื่อความหมาย (Guided Interpretive Trail) เป็นเส้นทางธรรมชาติที่ต้องอาศัยนักธรรมชาติวิทยา สามารถสื่อความหมายเป็นผู้นำทาง ให้คำแนะนำและบรรยายเกี่ยวกับธรรมชาติตามเส้นทาง การศึกษาธรรมชาติโดยวิธีนี้จะต้องกำหนดจำนวนกลุ่มและตารางการนำเที่ยวที่แน่นอน เส้นทางประเภทนี้ไม่ต้องอาศัยหลักวิชาการในการออกแบบและก่อสร้างมากนัก คุณภาพของเส้นทางจะขึ้นอยู่กับบุคลิคของเจ้าหน้าที่ผู้นำทางและเทคนิคการสื่อความหมาย
            ผลดีของเส้นทางประเภทนี้คือ จะใช้ป้ายสื่อความหมายไม่มากนักและไม่ต้องใช้คู่มือประกอบ
            2. เส้นทางเดินศึกษาด้วยต้นเอง (Seft Guide Interpretive Trail) เป็นเส้นทางที่สร้างขึ้นเองเพื่อให้นักท่องเที่ยว มีโอกาสศึกษาธรรมชาติโดยศึกษาเรื่องราวต่าง ๆ ด้วยตนเอง ตามเส้นทางจะมีป้ายสื่อความหมาย
            การใช้คู่มือ/เอกสาร หรือการใช้เทปบรรยาย อธิบายจุดที่สำคัญหรือสิ่งที่น่าสนใจบนเส้นทาง เหมาะสำหรับกลุ่มนักท่องเที่ยวกลุ่มเล็ก ๆ โดยเฉพาะครอบครัว และมีจะนวนหลายกลุ่ม ทางประเภทนี้จะรองรับนักท่องเที่ยวไม่จำกัดจำนวน
สถิตินักท่องเที่ยว
            สถิติในแต่ละปีเฉลี่ยนักท่องเที่ยวที่เข้ามาท่องเที่ยวมากที่สุดในปี พ.ศ. 2539 จำนวน 79,768 คน และน้อยที่สุดในปี พ.ศ. 2541 จำนวน 4,173 คน
            นักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นทั้งนักท่องเที่ยวชาวไทยและต่างประเทศ แต่สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศมีน้อย
ลักษณะการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวมี 1 ลักษณะ คือ
              1. แบบเช้า - กลับเย็น โดยจะมาเป็นกลุ่มตั้งแต่ 1 - 40 คน
              2. แบบค้างคืน โดยจะมีการกางเตนท์ ของกลุ่มที่เข้ามาแบบนี้คือ ลูกเสือ เนตรนารี และนักเรียน กิจกรรมที่ทำส่วนมากเพื่อการศึกษาความรู้เกี่ยวกับสภาพป่า พันธุ์ไม้ พันธุ์สัตว์ หรือกิจกรรมเสริมลักสูตร ผู้ที่เข้ามาส่วนใหญ่มีประมาณ 50 - 800 คน ระยะที่เข้าพักแรม ตั้งแต่ 1 - 4 คืน

ลำดับที่


รายการ


จำนวน


พื้นที่


หมายเหตุ

1 ด่านตรวจ 2 8 -
2 ลานแคมป์
                    ลานจอดรถนักท่องเที่ยว
      พื้นที่กางเตนท์
สุขา
ศาลา
1
1
1
2
4
4,500
2,000
1,600
64
16
-
-
-
-
-
3 ศูนย์บริการนักท่องเที่ว 1 800 -
4 ลานจอดรถนักท่องเที่ยว
ลานเอนกประสงค์
ร้านค้าสวัสดิการ
โทรศัพท์
ชุดม้านั่ง
ศาลา
1
-
1
1
1
2
3,500
-
720
2
4
8
-
-
-
-
-
ยังไม่มีการก่อสร้าง
5 จดที่ทำการ
ที่ทำการอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง
ลานจอดรถเจ้าหน้าที่
ห้องประชุม
ห้องพัสดุ
ห้องวิทยุ
ชุดที่นั่ง

1
1
-
1
1
3

128
600
-
9
9
12

-
-
ยังไม่มีการก่อสร้าง
-
-
-
6 บ้านพักนักท่องเที่ยว
ชุดที่นั่ง
ห้องน้ำ
-
4
2
-
16
64
ยังไม่มีการก่อสร้าง
-
-
7 บ้านพักคนงาน 5 720 -
8 บ้านพักข้าราชการ 1 144 -
9 บ้านพักลูกจ้างประจำ, ลูกจ้างชั่วคราว 2 600 -
10 แอ่งน้ำ
- ศาลา
- ชุดที่นั่ง
1
4
16
600
16
8
-
-
-

การใช้พื้นที่และโครงการสร้างสิ่งต่าง ภายในอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง


เดือน/ปี
2538 2539 2540 2541 2542 2453 รวม
มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม
-
1
-
-
2
1
-
-
-
2
3
1
1
2
2
-
2
1
-
1
2
-
1
3
2
4
4
7
1
-
1
-
-
1
1
3
1
6
1
-
-
-
-
1
1
1
-
1
-
3
2
3
-
2
2
2
-
-
-
-
2
-
2
-
3
6
1
2
3
5
2
2
6
16
11
10
8
10
4
6
6
9
7
9
รวม
9
15 24 12 14 28 102

สถิตินักท่องเที่ยวที่เข้าไปในอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ปี 2538 - 2543



เดือน / ปี


2538


2539


2540


2541


2542


2543


รวม


เฉลี่ย


มกราคม
กุมภาพันธ์
มีนาคม
เมษายน
พฤษภาคม
มิถุนายน
กรกฎาคม
สิงหาคม
กันยายน
ตุลาคม
พฤศจิกายน
ธันวาคม


9020
22082
32030
31807
23566
16351
10790
8170
7577
6955
5515
7350


15320
20075
44753
63091
23571
13600
10836
12305
10860
8197
3998
10527


41631
32032
39880
61278
6922
7062
88178
8006
6965
6496
5140
15065


41631
20932
17360
25000
8930
1230
4097
4320
4406
2851
3530
4210


5230
4486
4350
5524
2233
3312
7409
4320
4406
2851
3530
4210


5230
4226
4350
5514
2293
3312
7403
4177
5017
3416
1747
6150


118062
103934
740923
192214
88415
44867
42413
47407
99842
54784
38833
45694


19677
17322
12987
32036
14736
7478
7059
7901
16640
9131
6473
7616


รวม / ปี


179013


237133


298644


139397


51272


50245


955704


759284


เฉลี่ย


14918


79768


24887


11617


4273


4788


79642


69280


สถิตินักท่องเที่ยวที่เข้าไปในอุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง ปี 2538 - 2543

ที่มา ฝ่ายนันทนาการและการสื่อความหมาย อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง 2543



            พื้นที่ป่าไม้ลดลงไปอย่างรวดเร็ว จากสภาพที่เคยอุดมสมบูรณ์ ในปี พ.ศ. 2528 เหลือเพียง 29.05 สาเหตุประการหนึ่ง ได้แก่ การที่ประชาชนไปทำลายป่า เพื่อต้องการทำมาหากิน โค่นต้นไม้เพื่อนำไปขายหรือปลูกสร้างบ้านเรือน ใช้ทำเชื้อเพลิง (ฝ่ายประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ กรมป่าไม้ พ.ศ. 2532)

เส้นทางเดินเท้าศึกษาธรรมชาติ (MIYAZAWA )
             เหมาะสำหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการศึกษาธรรมชาติที่ไม่มีเวลามากนัก เพราะใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 1-2 ชั่วโมง ระยะทางประมาณ 1,500 เมตร ในเส้นทางนี้จะมีป้ายสื่อความหมายธรรมชาติตามจุดที่น่าสนใจ และป้ายบอกทิศทาง นักท่องเที่ยวสามารถเดินศึกษาธรรมชาติได้อย่างปลอดภัย
แผนที่แสดงเส้นทางการเดินศึกษาธรรมชาติ "MIYAZAWA" อุทยานแห่งชาติน้ำตกโยง

 
ประวัติ   แหล่งท่องเที่ยว   เส้นทางศึกษาอุทยาน    คำกลอนประจำอุทยาน   
 
  ลักษณะทางกายภาพ   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม  
  กลับสู่หน้าแรก