 |
|
 |
|
ชื่อท้องถิ่น |
หมหนาม หรือโหมหนาม |
ชื่อวงศ์ |
AMARANTHACEAE |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Amaranthus spinosus Linn. |
ลักษณะลำต้น |
เป็นพืชล้มลุก ลำต้นเขียวเป็นเหลี่ยม ข้อเป็นหนาม สูงประมาณ 1-2 เมตร |
ลักษณะใบ |
ใบมนปลายแหลม กว้างประมาณ 1 นิ้ว ยาวประมาณ 2 นิ้ว ผิวเรียบสากเล็กน้อย ขอบใบเป็นหยัด |
ลักษณะดอก |
เป็นช่อขนาดเล็กสีขาวคล้ายฝอยทอง ออกที่ปลายยอด |
ลักษณะผล |
ไม่มี |
ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร |
ใบ ลำต้นอ่อนตัดหนามออก |
ใช้เป็นอาหารประเภท |
ใบแกงเลียง ผัด ลำต้นใช้ |
รสชาติ |
หวาน |
ส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ |
เมล็ดจากดอกแก่ |
พื้นที่ที่เจริญเติบโตได้ดี |
ที่ราบ ชายคลอง |
ฤดูกาลที่ให้ผลผลิต |
ฤดูฝน |
ส่วนที่เป็นพิษ |
ไม่มี |
ประโยชน์ใช้สอย |
ไม่มี |
ความเชื่อ |
ไม่มี |
สรรพคุณทางสมุนไพร |
ราก ถอนพิษ ถอนพิษไข้หัว แก้ร้อนใน แก้เสมหะ ขับปัสสาวะ ต้มอาบแก้คัน มักใช้คู่กับผักโหมหิน เรียกว่า ผักโหมทั้ง 2 |