 |
|
 |
|
ชื่อท้องถิ่น |
ผักหนาม |
ชื่อวงศ์ |
ARACEAE |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Lasia spincosa (L) |
ลักษณะลำต้น |
คล้ายบอนแต่ลำต้นมีหนามเล็กๆ |
ลักษณะใบ |
ใบอ่อนมีขน พอกลายเป็นใบเพสลาด จะแผ่บาน ลักษณะใบคล้ายดอกหน้าวัว |
ลักษณะดอก |
เหมือนดอกบอน สีม่วงเข้ม เกสร สีขาวแกมเหลือง ก้านดอกแตกออกจากลำต้น |
ลักษณะผล |
ติดอยู่ที่โคนดอก ออกเป็นกระจุกด้วย ลูกบุกเตียง เมื่อผลยังอ่อนสีเขียว แต่พอสุกสีเหลืองอมแดง |
ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร |
ลำต้นอ่อนและใบอ่อน |
ใช้เป็นอาหารประเภท |
ดอง หรือลวกจิ้มน้ำพริก แก้งส้ม แกงกะทิ |
รสชาติ |
จืด |
ส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ |
ใช้หัวใต้ดิน และเมล็ดสุก ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับ |
พื้นที่ที่เจริญเติบโตได้ดี |
ป่าพรุ หรือชายคลอง |
ฤดูกาลที่ให้ผลผลิต |
ยอดให้ตลอดปี แต่จะมีผลในต้นฤดูแล้ง |
ส่วนที่เป็นพิษ |
หากรับประทานมาก ทำให้เจ็บหลัง มีพิษต่อทางเดินปัสสาวะ |
ประโยชน์ใช้สอย |
ไม่มี |
ความเชื่อ |
ไม่มี |
สรรพคุณทางสมุนไพร |
หัวนำมาฝนกับน้ำกินเป็นยาถ่ายพยาธิ หัว แก้ไอ ขับเสมหะ ต้มอาบแก้คัน เพราะเหือด หัด สุกใส ดำแดง ถอนพิษ ทำให้หายเร็วขึ้น |
หมายเหตุ
วิธีการดอง นำยอดผักหนามไปลวกแล้วนำไปแช่ ในน้ำเปล่าที่สะอาดเติมเกลือพอออกรสเค็มนิดๆ แล้วเติมข้าวสุกลงไป ปิดฝาทิ้งไว้ประมาณ 2-3 วัน ผักหนามจะมีรสเปรี้ยว นำไปเป็นผักเหนาะ
หรือต้มแกงได้ |
|