![]() |
![]() |
ชื่อท้องถิ่น |
แมงลัก ก้อมก้อขาว(ภาคเหนือ), มังลัก(ภาคกลาง),ผักอีตู่(เลย) |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Ocimum basilicum Linn. forma citratum Back. |
วงศ์ |
LABIATAE |
ชื่อสามัญ |
Hairy Basil |
ลักษณะ |
เป็นพืชล้มลุกทรงพุ่มคล้ายโหระพา สูง 30-80 ซม. ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้าม รูปรี กว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 2-5 ซม. ปลายและโคนแหลม มีกลิ่นหอม ขอบใบเรียวหรือหยักมนๆ ดอก สีขาว ออกเป้นช่อที่ปลายกิ่ง ยาว 6-10 ซม. ใบประดับจะคงอยู่เมื่อเป็นผล ผลเป็นผลชนิดแห้ง รูปรี ขนาดเล็ก |
ขยายพันธุ์ |
ปักชำกิ่ง หรือ ใช้เมล็ด แมงลักชอบขึ้นในที่ราบโล่งแจ้ง ปลูกง่ายในดินทุกชนิด ใช้เมล็ดโรยบนดิน หรือ ในแปลงที่จะปลูก ควรปลูกต้นฤดูฝน |
ส่วนที่นำมาเป็นยา |
ผลแก่แห้ง(ซึ่งมักเรียกว่า เมล็ด), ใบ |
สารเคมีที่สำคัญ |
เม็ดแมงลักประกอบด้วยสารคาร์โบไฮเดรตหลายชนิดซึ่งเป็นโมเลกุลใหญ่ และสารประกอบอื่น ๆ เช่น Camphene , mucillage , myrcene oil, D-Glucose เป็นต้น เปลือกผลแมงลัก มีสารเมือก (mucilage) ซึ่งพองตัวในน้ำได้ ,ใบมีน้ำมันหอมระเหย ประเภทการบูร, เบอร์นีอัล, ซีนีออล และยูจีนอล |
สรรพคุณทางยาและวิธีใช้ |
![]() ![]() ![]() ![]() |
ข้อควรระวัง |
มังคุด | ![]() |
![]() |
![]() |
ยอ |