![]() ![]() |
ชื่อท้องถิ่น | ขี้เหล็กบ้าน (ลำปาง-สุราษฎร์) ขี้เหล็กเผือก (เชียงใหม่) ขี้เหล็กใหญ่ (ภาคกลาง) ยะหา (ปัตตานี) ผักจี้ลี้ (ฉาน-แม่ฮ่องสอน) ขี้เหล็กแก่น (ราชบุรี) ขี้เหล็กหลวง (ภาคเหนือ) ขี้เหล็กจิหรี่ (ภาคใต้) ขี้เหล็กโคก ขี้เหล็กแพะ ขี้เหล็กป่า ขี้เหล็กสาร |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Senna siamea (Lam.) Irwin et Barneby (Cassia siamea Lam.) |
วงศ์ |
LEGUMINOSAE (FABACEAE) CAESALPINIOIDEAE |
ชื่อสามัญ |
Cassod Tree, Thai Copper Pod, Siamese Cassia. |
ลักษณะ |
เป็นไม้ยืนต้น สูง 8 - 15 เมตร ใบประกอบแบบขนนก เรียงสลับใบย่อยรูปขนาน กว้างประมาณ 1.5 ซม. ยาว 4 ซม. ใบอ่อนสีน้ำตาลอมเขียว ดอกออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีเหลือง ผลเป็นฝักแบน ยาวและหนา |
การขยายพันธุ์ |
เมล็ด ใช้เมล็ดเพาะในถุงหรือในแปลงที่เตรียมไว้ |
ส่วนที่ใช้เป็นยา |
ยอดอ่อน, ใบ, ดอก |
สารเคมีและสารอาหารที่สำคัญ |
สารโครโมน(พบในใบและดอก) สารแอนทราควิโนน(พบในแกนและใบ) แอลคาลอยด์บางชนิด เช่น ไซเอมีน (Siamine), แคสเซียมีน (Cassiamine) ใบอ่อนและดอกตูมมีวิตามินเอ ,วิตามินบี 2 และ วิตามินซี |
สรรพคุณทางยา และวิธีใช้ |
![]() ![]() |
ข้อควรระวัง |
ต้มนานเกินไปอาจจะให้สรรพคุณทางยาลดน้อยลง |
ขิง | ![]() |
![]() |
![]() |
คำฝอย |