|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
การเสียภาษีป้ายที่ติดตั้งใหม่
|
|
1. ความพึงพอใจของผู้เสียภาษี
2. ท้องถิ่นจัดเก็บภาษีได้ครบถ้วนเป็นธรรมและไม่มีลูกหนี้ภาษีค้างชำระ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
|
|
เอกสารประกอบ
- สำเนาทะเบียนบ้าน
- ทะเบียนพาณิชย์
- ใบอนุญาตติดตั้งป้ายหรือ
ใบเสร็จรับเงินจากร้านทำป้าย
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
|
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายที่ติดตั้งใหม่
ต้องยื่นแบบแสดงรายการ
ภาษีป้าย (ภ.ป.1) พร้อมเอกสาร
ประกอบ
|
ยื่นแบบภายใน 15 วันนับแต่วันติดตั้งป้าย (ป้ายเก่ายื่นแบบชำระภายใน ม.ค. มี.ค.)
ระยะเวลาการให้บริการในการชำระภาษีโดยประมาณ 10 นาทีต่อราย
กรณีเอกสารไม่ครบถ้วน/ต้องออกตรวจสอบประมาณ 10
วันทำการ
|
1. ความพึงพอใจของผู้เสียภาษี
2. ท้องถิ่นจัดเก็บภาษีได้ครบถ้วนเป็นธรรมและไม่มีลูกหนี้ภาษีค้างชำระ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2534
|
|
เจ้าหน้าที่ฝ่ายจัดเก็บรายได้รับเรื่องแล้วดำเนินการ
|
|
- ตรวจสอบหลักฐาน
|
|
|
|
- ตรวจสอบป้าย หรือขอเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมที่จำเป็น
|
|
|
|
- คำนวณค่าภาษีป้าย จากพื้นที่และอัตราภาษีตามประเภท ของป้าย กรอกแบบแจ้ง การประเมิน (ภ.ป.3)
|
|
|
|
- ส่งแบบแจ้งการประเมินให้แก่ผู้มีหน้าที่เสียภาษีป้ายเพื่อชำระภาษีป้าย
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
เอกสารประกอบ
|
กรณีเอกสารครบถ้วน/ไม่ต้องออกตรวจสอบระยะเวลาในการชำระภาษีโดยประมาณ
10 นาทีต่อราย
กรณีเอกสารไม่ครบถ้วน/ต้องออกตรวจสอบใช้เวลาดำเนินการตามขั้นตอนการตรวจสอบ
|
1. ความพึงพอใจของผู้เสียภาษี
2. ท้องถิ่นจัดเก็บภาษีได้ครบถ้วนเป็นธรรมและไม่มีลูกหนี้ภาษีค้างชำระ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.ภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ.2508 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2543
|
|
1. บัตรประจำตัวประชาชน
|
|
2. หลักฐานที่แสดงถึงการเป็นเจ้าของที่ดิน เช่น โฉนดหรือ นส. 3 หรือ นส. 3
ก หรือ
สิทธิในการเข้าทำประโยชน์ในที่ดินของรัฐ
|
|
3. ใบเสร็จรับเงินที่ชำระไว้ครั้งสุดท้าย (ถ้ามี)
|
|
|
|
|
กรณีเจ้าของที่ดินไม่สามารถมาด้วยตนเองได้
ให้ผู้รับมอบอำนาจพร้อมบัตรประจำตัวของผู้มอบอำนาจรวมทั้งหลักฐานอื่น ๆ ในข้อ 1, 2, 3 มาแสดงด้วย
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
1
|
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีบำรุงท้องที่ต้องยื่นแบบแสดงรายการที่ดิน
(ภ.บ.ท.5) พร้อมเอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
2
|
เจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบ หลักฐาน ตรวจสอบสภาพที่ดิน
หรือขอเอกสารหลักฐานที่จำเป็นเพิ่มเติม คำนวณภาษี กรอกแบบแจ้งการประเมิน (ภ.บ.ท.9) และส่งให้ผู้มีหน้าที่เสียภาษีเพื่อดำเนินการชำระภาษีต่อไป
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
ภาษีโรงเรือนและที่ดินรายใหม่
|
|
1. ความพึงพอใจของผู้เสียภาษี
2. ท้องถิ่นจัดเก็บภาษีได้ครบถ้วนเป็นธรรมและไม่มีลูกหนี้ภาษีค้างชำระ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ.
2475 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 5 ) พ.ศ. 2543
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
1. บัตรประจำตัวประชาชน
|
|
|
2. สำเนาทะเบียนบ้าน
|
|
|
3. สำเนาใบอนุญาตให้ปลูกอาคาร
|
|
|
|
|
4. สำเนาโฉนดที่ดินที่ปลูกสร้างโรงเรือน หรือ นส.
3 หรือ สน. 3 ก
|
|
|
|
|
|
5. สำเนาทะเบียนการค้า และทะเบียนพาณิชย์
|
|
|
|
|
|
6. สำเนาใบอนุญาตตั้งหรือประกอบกิจการโรงงาน (ถ้ามี)
|
|
|
|
|
|
7. หลักฐานยื่นแสดงการเริ่มใช้ ประโยชน์ของโรงเรือนพิกัดรายปี
|
|
|
|
|
|
8. สำเนาทะเบียนบ้านของโรงเรือนพิกัดภาษี
|
|
|
|
|
|
9. แผนที่โรงเรือนของที่ตั้งโรงเรือนรายพิกัดภาษีในกรณีที่โรงเรือนมีผู้ถือ
|
|
|
|
|
|
กรรมสิทธิ์ร่วมกันหรือหลายคน
ให้ผู้ถือกรรมสิทธิ์ลงลายมือชื่อ
ในแบบ
ภ.ร.ด.2 ในฐานะผู้รับประเมินทุกคนหรือจะมอบอำนาจให้คนใดคนหนึ่งก็ได้
การมอบต้องทำเป็นหนังสือและปิดอากรแสตมป์ตามกฎหมาย
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
1
|
ผู้มีหน้าที่เสียภาษีโรงเรือนและที่ดินเริ่มเสียภาษีเป็นครั้งแรก ต้องยื่นแบบแสดงรายการเสียภาษีโรงเรือนและ
ที่ดิน (ภ.ร.ด.2)
พร้อมเอกสารประกอบ
|
ยื่นแบบชำระภาษีภายใน ม.ค. ก.พ..
|
|
|
|
2
|
เจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบ หลักฐาน หรือขอเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมจากเจ้าของโรงเรือน
สอบผู้เช่าหรือ หรือตรวจสอบสภาพโรงเรือน และทำแผนผังโรงเรือน
จัดหมวดหมู่โรงเรือน คำนวณค่ารายปี และส่งแบบ ภ.ร.ด.2 ให้พนักงานเจ้าหน้าที่ซึ่งทำหน้าที่ประเมิน พิจารณากำหนดค่ารายปี ภาษี
|
กรณีเอกสารครบถ้วนและไม่ต้องออกตรวจสอบใช้เวลาในการชำระภาษี
โดยประมาณ 10
นาทีต่อราย
|
|
|
|
3
|
เจ้าหน้าที่กรอกแบบใบแจ้งการประเมินภาษี ภ.ร.ด. 8 และแจ้งผู้เสียภาษีเพื่อชำระภาษี
|
กรณีเอกสารไม่ครบถ้วนและต้องออกตรวจสอบใช้เวลาดำเนินการโดยประมาณ 20 วันทำการ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
การอุทธรณ์การประเมินภาษี
โรงเรือนและที่ดิน
ภาษีบำรุงท้องที่และภาษีป้าย
|
|
1. ความพึงพอใจของผู้ยื่นอุทธรณ์ฯ
2. ท้องถิ่นพิจารณาคำอุทธรณ์ฯ
ด้วยความถูกต้องตามระเบียบกฎหมายและเป็นธรรมแก่ผู้เสียภาษี
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 5 ) พ.ศ.
2543
- พ.ร.บ.ภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ.2508 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ.2543
- พ.ร.บ.ภาษีป้าย พ.ศ.2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)พ.ศ.2534
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
- บัตรประจำตัวประชาชน
|
|
|
|
- สำเนาหรือภาพถ่ายหนังสือแจ้งการประเมิน
|
|
|
|
- เอกสารหลักฐานอื่น ๆ ที่ผู้ยื่นคำขอกล่าวอ้าง
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
1
|
ผู้ประสงค์จะอุทธรณ์การประเมินภาษียื่นคำขอตามแบบที่กำหนดพร้อมเอกสารประกอบภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด
|
กรณีเอกสารครบถ้วน/ไม่ต้องออกตรวจสอบ/
ไม่มีปัญหาข้อกฎหมาย
|
|
|
2
|
เจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบ หลักฐาน ตรวจสอบสภาพโรงเรือน
สถานที่ หรือป้าย แล้วแต่กรณี
|
ระยะเวลา
ดำเนินการโดยประมาณ 25 นาทีต่อราย
|
|
|
3
|
เจ้าหน้าที่พิจารณาจัดทำคำชี้แจง เหตุผลการประเมิน
จัดทำแผนที่สังเขปแสดงภูมิถิ่นที่ตั้งของโรงเรือน
ข้างเคียง พร้อมหลักฐานต่าง ๆ
ที่จำเป็นเสนอผู้บริหารท้องถิ่น หรือคณะผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณา และ
|
กรณีเอกสารไม่ครบถ้วน/ต้องออกตรวจสอบ/ ต้องส่งเรื่องให้ฝ่ายกฎหมาย
ใช้เวลาดำเนินการโดยประมาณ
25 วันทำการต่อราย
|
|
|
4
|
แจ้งผลชี้ขาดให้ผู้อุทธรณ์ทราบ
กรณีมีปัญหาเกี่ยวข้องในข้อกฎหมาย ส่งเรื่องให้ฝ่าย /กองคลังดำเนินการตรวจสอบหลักฐานเพื่อเสนอฝ่ายกฎหมายฯ
ดำเนินการต่อไป
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
1. ความพึงพอใจของผู้ขอคืนเงินภาษีฯ
2. ท้องถิ่นพิจารณาดำเนินการด้วยความถูกต้องตามระเบียบกฎหมายและเป็นธรรมแก่ผู้ขอคืนภาษี
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.
ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ.ศ. 2475และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่5 ) พ.ศ. 2543
- พ.ร.บ.ภาษีบำรุงท้องที่ พ.ศ.2508 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ.2543
|
|
1. บัตรประจำตัว
|
|
|
2. สำเนาใบเสร็จรับเงินค่าภาษี
|
|
|
3. คำชี้แจงประกอบคำร้องขอคืน (ถ้ามี)
|
|
|
|
4. เอกสารหลักฐานประกอบคำชี้แจง
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
1
|
ผู้ประสงค์ขอคืนเงินภาษียืนคำขอพร้อมเอกสารประกอบ
|
ระยะเวลาดำเนินการเป็นไปตามขั้นตอน
การตรวจสอบหลักฐานเอกสารและสภาพทรัพย์สิน
หรือสถานที่ หรือป้าย แล้วแต่กรณี
|
|
|
- พ.ร.บ.ภาษีป้ายพ.ศ.2510 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ.2534
|
2
|
เจ้าหน้าที่ดำเนินการตรวจสอบ หลักฐาน
หรือขอเอกสารหลักฐานเพิ่มเติมที่จำเป็น ตรวจดูสภาพ ทรัพย์สินเพื่อขอคืนภาษี
|
|
|
3
|
เจ้าหน้าที่ดำเนินการเสนอผู้บริหาร ท้องถิ่น พิจารณาอนุมัติ
|
|
|
|
4
|
กรณีเมื่อได้รับอนุมัติให้คืนภาษีแล้ว
ให้วางฎีกาเบิกเงินค่าภาษีถอนคืนแก่ผู้ยื่นคำขอ
แล้วแจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบเพื่อมารับเงินเงินภาษีคืน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
การขออนุญาตก่อสร้าง
ดัดแปลงรื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายอาคาร
|
ภายในเวลาไม่เกิน 45 วัน กรณีจำเป็นขยายเวลาอีก
ไม่เกิน 2 คราว
คราวละ
ไม่เกิน 45 วัน
กรณีเอกสารครบถ้วนเรียบร้อยสามารถดำเนินการแล้วเสร็จก่อนเวลาที่กฎหมายกำหนด
|
1. ใบอนุญาตฯ
ซึ่งได้ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
2. ความพึงพอใจของผู้ยื่นขออนุญาต
|
องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.ควบคุมอาคาร พ.ศ.
2522 และแก้ไข เพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พ.ศ.
2535 และ
(ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2543
|
|
ก. วิธียื่นขอรับใบอนุญาต
|
|
1. คำขออนุญาตตามแบบ ข.1 หรือ ข.2 กรอกรายละเอียดให้เรียบร้อย
|
|
2. แผนผังบริเวณแบบแปลน
รายการประกอบแบบแปลน 5 ชุด (ต้องเป็นสิ่งพิมพ์
สำเนาภาพถ่าย หรือเขียนด้วยหมึก
และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขตามกฎกระทรวง)
|
|
|
|
3. รายการคำนวณ 1 ชุด (กรณีที่เป็นอาคารสาธารณะ
อาคารพิเศษ หรืออาคารที่ก่อสร้างด้วยวัตถุถาวรและวัตถุทนไฟเป็นส่วนใหญ่)
|
|
|
|
|
4. สำเนาหรือภาพถ่ายโฉนดที่ดิน / น.ส.3 / สค.1 จำนวน 2 ฉบับ ถ่ายเท่าตัวจริง (พร้อมเจ้าของลงนามรับรองสำเนา)
|
|
|
|
|
|
5. หนังสือแสดงความเป็นตัวแทนเจ้าของอาคารกรณีที่ตัวแทนเจ้าของอาคารเป็นผู้ขออนุญาต
|
|
|
|
|
|
6. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียน
วัตถุประสงค์
และมีอำนาจลงชื่อแทนนิติบุคคลผู้ขออนุญาตที่ออกให้ไม่เกินหกเดือน (กรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ขออนุญาต)
|
|
|
|
|
|
7. หนังสือแสดงว่าเป็นผู้จัดการ
หรือผู้แทนซึ่งเป็นผู้ดำเนินการของนิติบุคคล (กรณีนิติบุคคลเป็นผู้ขออนุญาต)
|
|
|
|
|
|
8. หนังสือแสดงความยินยอมและรับรองของผู้ออกแบบและคำนวนอาคารพร้อมทั้งสำเนาใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม
หรือวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมอย่างละ
1 ฉบับ (กรณีที่เป็นอาคารมีลักษณะขนาดอยู่ในประเภทเป็นวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือ วิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมแล้วแต่กรณี)
|
|
|
|
|
|
9. หนังสือแสดงความยินยอมของผู้ควบคุมงาน พร้อมสำเนา หรือภาพถ่ายใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมของผู้ควบคุมงาน
อย่างละ 1 ฉบับ
(เฉพาะกรณีที่เป็นอาคารมีลักษณะขนาดอยู่ในประเภทเป็นวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมหรือ
สถาปัตยกรรมควบคุม แล้วแต่กรณี)
|
|
|
|
|
|
10. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและทะเบียนบ้านผู้เกี่ยวข้องทุกคน (ลงนามรับรองสำเนาโดยเจ้าของ)
|
|
|
|
|
|
11. หนังสือมอบอำนาจปิดอากรตามกฎหมาย (กรณีมอบอำนาจให้เป็นตัวแทนเจ้าของอาคารมอบให้เป็นผู้ดำเนินการ)
|
|
|
|
|
|
12. หนังสือยินยอมให้ก่อสร้างอาคารชิดเขตที่ดินหรือร่วมผนัง (กรณีก่อสร้างอาคารชิดเขต หรือร่วมผนังอาคาร)
|
|
|
|
|
|
13. รายการคำนวณระบบบำบัดน้ำเสีย ไฟฟ้า ไฟฟ้าสำรอง เครื่องกล ระบายอากาศ
ป้องกันเพลิงไหม้ ประปา ลิฟต์ (เฉพาะกรณีอาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษ)
|
|
|
|
|
|
ข. วิธีแจ้งขออนุญาตก่อสร้างดัดแปลง
รื้อถอนหรือเคลื่อนย้ายอาคาร ตามมาตรา 39 ทวิ (การขออนุญาตโดยวิธีการแจ้ง)
|
|
|
|
|
|
1. แจ้งตามแบบที่เจ้าพนักงานท้องถิ่นกำหนด
|
|
|
|
|
|
2. ผู้รับผิดชอบงานออกแบบอาคาร ซึ่งเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุมประเภทวุฒิสถาปนิก
ตาม พ.ร.บ.สถาปนิกพร้อมสำเนาใบอนุญาตและหนังสือรับรอง
|
|
|
|
|
|
3. ชื่อของผู้รับผิดชอบงานออกแบบและคำนวณอาคารซึ่งเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตประเภทวิศวกร
ตาม พ.ร.บ.วิศวกร
พร้อมสำเนาใบอนุญาตและหนังสือรับรอง
|
|
|
|
|
|
4. ชื่อของผู้ควบคุมงานซึ่งต้องเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพถาปัตยกรรมควบคุมและวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพสถาปัตยกรรมและเป็นผู้ได้รับใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมควบคุมตามกฎหมายว่าด้วยวิชาชีพวิศวกรรม
พร้อมสำเนาใบอนุญาต และหนังสือ
รับรองของสถาปนิก และวิศวกรผู้ควบคุมงาน
|
|
|
|
|
|
5. ตาม ข้อ 2-4 ผู้รับผิดชอบงานจะต้องไม่เป็นผู้ได้รับการแจ้งเวียนชื่อตามมาตรา
49 ทวิ
|
|
|
|
|
|
6. แผนผังบริเวณแบบแปลนรายการประกอบแบบแปลนและรายการคำนวณของอาคารที่จะก่อสร้างดัดแปลง
รื้อถอน หรือเคลื่อนย้ายซึ่งมีคำรับรองของบุคคลตาม 1 และ 2
ว่าเป็นผู้ออกแบบและคำนวณอาคาร
|
|
|
|
|
|
7. วันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดการดำเนินการ
|
|
|
|
|
|
8. ชำระค่าธรรมเนียมการตรวจ
แบบแปลน
|
|
|
|
|
2
|
การต่ออายุใบอนุญาต
|
|
|
|
|
|
1. ยื่นคำขออนุญาต ตามแบบ ข.5
|
|
|
|
|
|
2. เอกสารแสดงการเป็นเจ้าของอาคาร 2 ฉบับ (กรณีที่ผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตไม่ใช่เจ้าของอาคารที่ได้รับใบอนุญาต)
|
|
|
|
|
|
3. เอกสารแสดงการเป็นผู้ครอบครองอาคาร (กรณีผู้ครอบครองอาคารเป็นผู้ขอต่ออายุใบอนุญาตดัดแปลง
หรือใช้ที่จอดรถ ที่กลับรถ และทางเข้าออกของรถเพื่อการอื่น ๆ
|
|
|
|
|
|
4. เอกสารแสดงความยินยอมจากเจ้าของอาคาร
|
|
|
|
|
|
5. สำเนาหนังสือรับรองอาคารจดทะเบียน วัตถุประสงค์ และ ผู้มีอำนาจลงชื่อแทนนิติบุคคลของผู้ขออนุญาตที่ออกให้ไม่เกินหกเดือน
(กรณีที่นิติบุคคลเป็นผู้ขออนุญาต)
|
|
|
|
|
|
6. หนังสือแสดงว่าเป็นผู้จัดการหรือผู้แทนซึ่งเป็นผู้ดำเนินกิจการของนิติบุคคล
|
|
|
|
|
|
7. ใบอนุญาตดังกล่าวซึ่งเป็นฉบับตัวจริง
|
|
|
|
|
|
8. หนังสือแสดงความยินยอมของผู้ควบคุมงานพร้อมสำเนาภาพถ่ายใบอนุญาตให้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพวิศวกรรมหรือสถาปัตยกรรมของผู้ควบคุมงานอย่างละ
1 ฉบับ (กรณีที่เป็นอาคารมีลักษณะขนาดอยู่ใน
ประเภทตาม พ.ร.บ.วิศวกรรม
หรือ
พ.ร.บ.สถาปนิก)
|
|
|
|
|
|
9. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและทะเบียนบ้านผู้เกี่ยวข้อง
ทุกคน พร้อมรับรองสำเนา
|
|
|
|
|
3
|
โอนใบอนุญาต
|
|
|
|
|
|
1. ยื่นคำขออนุญาตตามแบบ ข.8
|
|
|
|
|
|
2. ใบอนุญาตดังกล่าวซึ่งเป็นฉบับตัวจริง
|
|
|
|
|
|
3. สำเนาบัตรประชาชนและทะเบียนบ้านของผู้โอนและผู้รับโอนพร้อมรับรองสำเนา
|
|
|
|
|
4
|
การขออนุญาตเปลี่ยนการใช้อาคาร
|
|
|
|
|
|
1. ยื่นคำขออนุญาตตามแบบ ข.3
|
|
|
|
|
|
2. สำเนาหรือภาพถ่ายเอกสารแสดงการเป็นเจ้าของอาคารหรือผู้ครอบครองอาคาร
|
|
|
|
|
|
3. หนังสือแสดงความยินยอมจากเจ้าของอาคาร
(กรณีผู้ครอบครองอาคารเป็นผู้ขออนุญาต)
|
|
|
|
|
|
4. ใบรับรองหรือใบอนุญาตเปลี่ยนแปลงการใช้อาคาร
จำนวน 1 ฉบับ
(เฉพาะกรณีที่อาคารที่ขออนุญาตเปลี่ยนการใช้ได้ใบรับรองหรือได้รับใบอนุญาตเปลี่ยนการใช้อาคารมาแล้ว)
|
|
|
|
|
|
5. สำเนาการจดทะเบียนที่ออกให้ไม่เกินหกเดือน(กรณีนิติบุคคลเป็นผู้ขออนุญาต)
|
|
|
|
|
|
6. หนังสือแสดงว่าเป็นผู้จัดการหรือผู้แทนซึ่งเป็นผู้ดำเนินการของนิติบุคคล
|
|
|
|
|
|
7. แผนผังบริเวณแบบแปลนรายการประกอบแบบแปลน
จำนวน 5 ชุด
|
|
|
|
|
|
8. รายการคำนวณหนึ่งชุด (กรณีการเปลี่ยนแปลงน้ำหนักบรรทุกมากขึ้นกว่าที่ได้รับอนุญาตไว้เดิม)
|
|
|
|
|
|
9. หนังสือแสดงความยินยอมและรับรองของผู้ออกแบบและคำนวณ
พร้อมทั้งสำเนาหรือ ภาพถ่ายใบอนุญาตตาม
พ.ร.บ. วิศวกร
อย่างละ 1 ฉบับ (กรณีอาคารมีลักษณะขนาดอยู่ในประเภทตาม
พ.ร.บ.วิศวกร)
|
|
|
|
|
|
10. สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและทะเบียนบ้านผู้เกี่ยวข้องทุกคน
พร้อมรับรองสำเนา
|
|
|
|
|
5
|
การขอรับใบรับรองการก่อสร้าง
ดัดแปลงหรือเคลื่อนย้ายอาคาร
|
|
|
|
|
|
1. ยื่นคำขอใบอนุญาตตามแบบ ข.6
|
|
|
|
|
|
2. สำเนาหรือภาพถ่ายเอกสารแสดงการเป็นเจ้าของอาคารหรือเป็นผู้ครอบครองอาคาร
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
กรณีขออนุมัติรายใหม่
|
โดยประมาณ
45 วันทำการ
|
1. ใบอนุญาตประกอบกิจการฯที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
(โดยประมาณ)
2. ความพึงพอใจของผู้ยื่นขออนุญาตประกอบ
กิจการฯ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พระราชบัญญัติการสารธารณสุข พ.ศ. 2535
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
1. บัตรประจำตัว และสำเนาทะเบียนบ้านผู้ขอใบอนุญาต
|
|
|
2. บัตรประจำตัว และสำเนาทะเบียนบ้านผู้จัดการ
หากไม่เป็นบุคคลเดียวกับผู้ถือ ใบอนุญาต
|
|
|
|
|
3. สำเนาทะเบียนบ้านของบ้านที่ใช้เป็นที่ตั้งสถานประกอบการ
|
|
|
|
|
|
4. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล พร้อมแสดงบัตรประจำตัวประชาชน
ของผู้แทนนิติบุคคล หากผู้ขอเป็นนิติบุคคล
|
|
|
|
|
|
5. สำเนาใบอนุญาตปลูกสร้างอาคารที่ใช้ แสดงว่าอาคารที่ใช้เป็นสถานประกอบการ
สามารถใช้ประกอบการนั้นได้โดยถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
|
|
|
|
|
|
(เอกสารหมายเลข 1-5 ให้ถ่ายเอกสารและ
รับรองสำเนาแนบมาด้วย)
|
|
|
|
|
|
6. หนังสือมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนผู้มอบและผู้รับมอบ
กรณีผู้ขอรับใบอนุญาตไม่สามารถดำเนินการด้วยตนเอง
|
|
|
|
|
2
|
กรณีขอต่ออายุใบอนุญาต
|
โดยประมาณ 30
วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
1. แสดงบัตรประจำตัวผู้ได้รับอนุญาตและเจ้าหน้าที่จดเลขที่
บัตรประจำตัวไว้ในใบคำร้อง
|
|
|
|
|
|
2. แสดงบัตรประจำตัวของผู้แทนนิติบุคคล และเจ้าหน้าที่จดเลขที่บัตรประจำตัวไว้ในใบคำร้องด้วยในกรณีที่ผู้ขออนุญาตเป็นนิติบุคคล
|
|
|
|
|
|
3. กรณีเปลี่ยนแปลงชื่อผู้แทนนิติบุคคลต้องแนบสำเนาบัตรประจำตัวของผู้แทนนิติบุคคลและเลขหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลผู้ได้รับอนุญาต
|
|
|
|
|
|
4. หนังสือมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตรประจำตัวผู้มอบและผู้รับมอบ กรณีที่ผู้ได้รับใบอนุญาตไม่สามารถดำเนินการด้วยตนเอง
|
|
|
|
|
|
5. ใบอนุญาต หรือใบแทนใบอนุญาต ฉบับเดิม
|
|
|
|
|
3
|
กรณีขออนุญาตเปลี่ยนแปลง
ขยาย หรือ ลดการประกอบกิจการสถานที่
หรือเครื่องจักร
|
โดยประมาณ 30 วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
|
1. เหมือนกับการขออนุญาตรายใหม่ใน ข้อ (1)
|
|
|
|
|
|
2. ใบอนุญาตฯ เดิม
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4
|
กรณีใบอนุญาตชำรุด
หรือสูญหาย
|
โดยประมาณ 30 วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
1. ใบอนุญาตประกอบกิจการเดิมและใบอนุญาตเปลี่ยนแปลงตามแบบ อภ.5 (ถ้ามี) ที่ชำรุดในสาระสำคัญ
|
|
|
|
|
|
2. หลักฐานการแจ้งความ กรณีสูญหาย
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
5
|
กรณีแจ้งเลิกกิจการ
|
โดยประมาณ 30 วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
ใบอนุญาตประกอบกิจการเดิม
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
|
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำขออนุญาต
|
|
|
|
|
|
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน
และตรวจสอบสถานประกอบการ
หากยังไม่ ถูกต้องให้ดำเนินการแก้ไขปรับปรุงภายในกำหนดระยะเวลา
|
|
|
|
|
|
3. ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติออกใบอนุญาต
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
กรณีขออนุญาต
(รายใหม่)
|
โดยประมาณ
45 วันทำการ
|
1. ใบอนุญาตประกอบกิจการฯ
ที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด(โดยประมาณ)
2. ความพึงพอใจของผู้ยื่นขออนุญาตฯ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ.
2535
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
1. บัตรประจำตัว และสำเนาทะเบียนบ้านผู้ขอใบอนุญาต
|
|
|
|
2. บัตรประจำตัว และสำเนาทะเบียนบ้านผู้จัดการ
หากไม่บุคคลเดียวกับผู้ถือใบอนุญาต
|
|
|
|
|
3. สำเนาทะเบียนบ้านของบ้านที่ใช้เป็นที่ตั้งสถานประกอบการ
|
|
|
|
|
4. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล
พร้อมแสดงบัตรประจำตัวของ
ผู้แทนนิติบุคคล หากผู้ขอเป็นนิติบุคคล
|
|
|
|
|
5. สำเนาใบอนุญาตปลูกสร้างอาคารที่ใช้ แสดงว่าอาคารที่ใช้เป็นสถานประกอบการ
สามารถใช้ประกอบการนั้นได้โดยถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (เอกสาร 1-5 ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาแนบมาด้วย)
|
|
|
|
|
|
6. หนังสือมอบอำนาจ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
2
|
กรณีขอต่ออายุใบอนุญาต
|
โดยประมาณ
30 วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
ใบอนุญาตประกอบกิจการเดิม
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
3
|
กรณีใบอนุญาตชำรุด หรือสูญหาย
|
|
|
|
|
|
1. ใบอนุญาตประกอบกิจการเดิม (ถ้ามี) ที่ชำรุดในสาระสำคัญ
|
|
|
|
|
|
2. หลักฐานการแจ้งความกรณีใบอนุญาตสูญหาย
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4
|
กรณีแจ้งเลิกกิจการ
|
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
|
1. ใบอนุญาตประกอบกิจการเดิม
และใบอนุญาตเปลี่ยนแปลง (ถ้ามี)
|
|
|
|
|
|
2. บัตรประจำตัวและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับใบอนุญาต(ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาด้วย)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
5
|
กรณีขอรับใบแทนใบอนุญาต
เช่นเดียวกับการขออนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
|
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำขออนุญาต
|
|
|
|
|
|
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน
|
|
|
|
|
|
3. ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
กรณีขออนุญาต
(รายใหม่)
|
โดยประมาณ 45 วันทำการ
|
1. ใบอนุญาตจัดตั้งสถานที่จำหน่ายหรือสะสมอาหารที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด(โดยประมาณ)
2. ความพึงพอใจของผู้ยื่นขออนุญาตฯ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พระราชบัญญัติการสารธารณสุข พ.ศ. 2535
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
1. บัตรประจำตัว และสำเนาทะเบียนบ้าน
ผู้ขอใบอนุญาต
|
|
|
|
2. บัตรประจำตัว
และสำเนาทะเบียนบ้านผู้จัดการ หากไม่บุคคลเดียวกับผู้ถือใบอนุญาต
|
|
|
|
|
3. สำเนาทะเบียนบ้านของบ้านที่ใช้เป็นที่ตั้งสถานประกอบการ
|
|
|
|
|
4. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล
พร้อมแสดงบัตรประจำตัวของผู้แทนนิติบุคคล
หากผู้ขอเป็นนิติบุคคล
|
|
|
|
|
|
5. สำเนาใบอนุญาตปลูกสร้างอาคารที่ใช้ แสดงว่าอาคารที่ใช้เป็นสถานประกอบการสามารถใช้ประกอบการนั้นได้โดยถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
|
|
|
|
|
|
(เอกสารหมายเลข 1-5 ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาแนบมาด้วย)
|
|
|
|
|
|
6. หนังสือมอบอำนาจ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
2
|
กรณีขอต่ออายุใบอนุญาต
|
โดยประมาณ
30 วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
1. เหมือนกับการขออนุญาตรายใหม่ในข้อ
(1) ยกเว้นหลักฐานการใช้อาคารตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร
|
|
|
|
|
|
2. ใบอนุญาตฉบับเดิม
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
3
|
กรณีแจ้งเลิกกิจการ
|
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
|
1. ใบอนุญาตฉบับเดิม
|
|
|
|
|
|
2. บัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับใบอนุญาต
(ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาด้วย)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4
|
กรณีขอรับใบแทนใบอนุญาต
|
โดยประมาณ
7 วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
เช่นเดียวกับการขออนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
5
|
กรณีใบอนุญาตชำรุด หรือ
สูญหาย
|
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
|
1. ใบอนุญาตฉบับเดิม
(ถ้ามี) หรือฉบับที่ชำรุดในสาระสำคัญ
|
|
|
|
|
|
2. หลักฐานการแจ้งความ
กรณีใบอนุญาต สูญหาย
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
|
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำขออนุญาต
|
|
|
|
|
|
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานเอกสาร
|
|
|
|
|
|
3. ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
กรณีขอหนังสือรับรองการแจ้ง
(รายใหม่)
|
โดยประมาณ
45 วันทำการ
|
1. หนังสือรับรองการแจ้งจัดตั้งสถานที่จำหน่ายหรือสะสมอาหารที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
(โดยประมาณ)
2. ความพึงพอใจของผู้ยื่นขอหนังสือรับรองฯ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พระราชบัญญัติการสารธารณสุขพ.ศ. 2535
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
1. บัตรประจำตัวประชาชน
และสำเนาทะเบียนบ้านผู้ขอใบอนุญาต
|
|
|
|
2. บัตรประจำตัว และสำเนาทะเบียนบ้านผู้จัดการ
หากไม่เป็นบุคคลเดียวกับผู้ถือใบอนุญาต
|
|
|
|
|
3. สำเนาทะเบียนบ้านของบ้านที่ใช้เป็นที่ตั้ง สถานประกอบการ
|
|
|
|
|
|
4. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล
พร้อมแสดงบัตรประจำตัวของผู้แทนนิติบุคคล หากผู้ขอเป็นนิติบุคคล
|
|
|
|
|
|
5. สำเนาใบอนุญาตปลูกสร้างอาคารที่ใช้ แสดงว่าอาคารที่ใช้เป็นสถานประกอบการ
สามารถใช้ประกอบการนั้นได้โดยถูกต้องตามกฎหมายว่าด้วยการควบคุมอาคาร (เอกสาร 1 - 5
ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาแนบมาด้วย)
|
|
|
|
|
|
6. หนังสือมอบอำนาจ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
2
|
กรณีขอต่ออายุหนังสือรับรองการแจ้ง
|
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
|
1. หนังสือรับรองการแจ้ง (เดิม)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
3
|
กรณีหนังสือรับรองชำรุด หรือสูญหาย
|
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
|
1. หนังสือรับรองการแจ้งเดิม (ถ้ามี) หรือหนังสือฯ ที่ชำรุดในสาระสำคัญ
|
|
|
|
|
|
2. หลักฐานการแจ้งความ
กรณีหนังสือ รับรองการแจ้งสูญหาย
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4
|
กรณีแจ้งเลิกกิจการ
|
โดยประมาณ 7 วันทำการ
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
1. หนังสือรับรองการแจ้งหรือใบแทนหนังสือรับรองการแจ้ง (ถ้ามี)
|
|
|
|
|
|
2. บัตรประจำตัว
และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขอหนังสือรับรองการแจ้ง(ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาด้วย)
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
|
1. ผู้ยื่นคำขอยื่นคำขอ
|
|
|
|
|
|
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน
|
|
|
|
|
|
3. ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
กรณีขออนุญาต
(รายใหม่)
|
โดนประมาณ
30 วันทำการ
|
1. ใบอนุญาตจำหน่ายสินค้าฯ
ที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด
(โดยประมาณ)
2. ความพึงพอใจของผู้ยื่นขออนุญาตฯ
|
องค์กร
ปกครอง
ส่วนท้องถิ่น
|
- พระราชบัญญัติการสารธารณสุข พ.ศ. 2535
|
|
- ขออนุญาตตั้งวางขายในจุด ผ่อนผัน
|
|
- ขออนุญาตเร่ขาย
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
1. รูปถ่ายหน้าตรงครึ่งตัว ไม่สวมหมวก ไม่สวมแว่น ขนาด 1x1.5 นิ้ว
ของผู้รับใบอนุญาต และผู้ช่วยจำหน่าย คนละ 3 รูป (ถ่ายไม่เกิน 6 เดือน)
|
|
|
|
|
2. สำเนาบัตรประจำตัวของผู้ขอรับใบอนุญาต
|
|
|
|
|
|
3. สำเนาบัตรประจำตัว หรือสำเนาทะเบียน บ้านของผู้ช่วยจำหน่าย (เอกสาร 1 2 ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาแนบมาด้วย)
|
|
|
|
|
|
4. ใบรับรองแพทย์ของผู้ขอใบอนุญาต และผู้ช่วยจำหน่าย
|
|
|
|
|
|
5. แผนที่สังเขปแสดงที่ตั้งจำหน่ายสินค้า(กรณีเร่ขายไม่ต้องมีแผนที่)
|
|
|
|
|
|
6 ใบอนุญาตให้ขายตาม พ.ร.บ.
รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมืองพ.ศ. 2535
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
2
|
กรณีแจ้งเลิกกิจการ
|
|
|
|
|
|
เอกสารประกอบ
|
|
|
|
|
|
1. ใบอนุญาต
|
|
|
|
|
|
2. บัตรสุขลักษณะประจำตัว
|
|
|
|
|
|
3. บัตรประจำตัว หรือสำเนาทะเบียนบ้านของผู้รับใบอนุญาต และผู้ช่วยจำหน่าย (ถ่ายเอกสารและรับรองสำเนาด้วย)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
3
|
กรณีขอต่ออายุใบอนุญาต
|
|
|
|
|
|
เช่นเดียวกับการขออนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
|
|
|
|
|
4
|
กรณีขอรับใบแทนใบอนุญาต
|
|
|
|
|
|
เช่นเดียวกับการขออนุญาตประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ขั้นตอนต่าง ๆ ตาม พ.ร.บ.การสาธารณสุข
พ.ศ. 2535
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
|
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำขออนุญาต
|
|
|
|
|
|
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน
|
|
|
|
|
|
3. ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
เอกสารประกอบ
|
โดยประมาณ
45 นาที
|
1.
ใบอนุญาตฯ
ที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระเบียบกฎหมายและระยะเวลาที่กำหนด
(โดยประมาณ)
2. ความพึงพอใจของผู้ขออนุญาตฯ
|
องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น
|
- พ.ร.บ.ควบคุมการโฆษณา โดยใช้เครื่องขยายเสียง พ.ศ.
2493
- ระเบียบปฏิบัติการยื่นคำร้องและการพิจารณาออกใบอนุญาตตาม
พ.ร.บ.ควบคุมการโฆษณา
โดยใช้เครื่องขยายเสียง
- พ.ร.บ.การสาธารณสุข
พ.ศ. 2535 เรื่องเหตุรำคาญ
มาตรา 24 (4)
|
|
1. บัตรประจำตัว
และสำเนาทะเบียนบ้านของผู้ขออนุญาต
(ถ่ายเอกสารและ
รับรองสำเนาแนบมาด้วย)
|
|
2. ใบอนุญาตให้มีเพื่อใช้ซึ่งเครื่องขยายเสียงและไมโครโฟน (ถ้ามี)
|
|
3. รายละเอียดของเครื่องขยายเสียงที่จะใช้ เช่น กำลังไฟฟ้าที่ใช้กำลังขยายเสียง
จำนวนกำลังขับเสียงลำโพงที่ใช้
|
|
4. แผนที่แสดงที่ตั้งที่ใช้เครื่องขยายเสียง
|
|
|
|
|
|
5. หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่
หรือสัญญาเช่า เช่น กรณีผู้ขออนุญาตไม่มีกรรมสิทธิ์ในอาคาร หรือสถานที่ที่ขออนุญาต
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ขั้นตอนการปฏิบัติ
|
|
|
|
|
|
1. ผู้ขออนุญาตยื่นคำขออนุญาตทำการโฆษณา
โดยใช้เครื่องขยายเสียง
( แบบ ฆษ.
1)
|
|
|
|
|
|
2. เจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐาน
|
|
|
|
|
|
3. ผู้มีอำนาจลงนามอนุมัติในแบบอนุญาตให้ทำการโฆษณาโดยใช้เครื่องขยายเสียง
( แบบ ฆษ. .2)
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
การจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นประจำปี
ประกอบด้วย 7
ขั้นตอน คือ
|
จัดทำให้เสร็จภายในเดือนมิถุนายน
|
1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจำนวนไม่น้อยกว่าร้อยละ70
สามารถจัดทำแผนพัฒนาประจำปีได้ถูกต้อง
เป็นแนวทางเดียวกันและแล้วเสร็จภายในกำหนดเวลา
2. ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้นำปัญหา/ความต้องการของประชาชนไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น
4. ประชาชนมีความพึงพอใจในการดำเนินงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
5.แผนงาน/โครงการตามแผนพัฒนาท้องถิ่นมีความสอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล แผนชาติ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/อำเภอ
|
ส่วนแผนพัฒนาท้องถิ่นโทร.
0-2243 -2226 ต่อ 28,130 สป. 51223
|
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการวางแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2541
|
|
|
1
|
เตรียมการจัดทำแผนพัฒนาประจำปี
|
ภายในเดือนพฤศจิกายน
|
|
|
|
2
|
ร่วมกำหนดร่างแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/อำเภอ โดยคำนึงถึงปัจจัยภายในและภายนอกของท้องถิ่น
นโยบายของรัฐบาล แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
|
ภายในเดือนพฤศจิกายน
|
|
|
|
|
|
3
|
ทบทวนวิสัยทัศน์
ยุทธศาสตร์
เก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลและกำหนดประเด็นหลักการพัฒนาโดยใช้กระบวนการการมีส่วนร่วม
|
ภายในเดือนกุมภาพันธ์
|
|
|
|
|
|
|
|
4
|
จัดทำรายละเอียดแผนงาน/โครงการประจำปีที่มีความครอบคุมในแนวทางการพัฒนาทุกด้าน
ทั้งโครงสร้างพื้นฐาน คุณภาพชีวิต
การแก้ไขปัญหาความยากจน ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
|
ภายในเดือนเมษายน
|
|
|
|
|
|
|
|
5
|
จัดทำร่างแผนพัฒนาประจำปี
โดยใช้กระบวนการประชาคม คำนึงถึงความเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
สอดคล้องกับการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี
|
ภายในเดือนพฤษภาคม
|
|
|
|
|
|
|
|
6
|
อนุมัติและประกาศใช้แผนพัฒนาประจำปี
และประกาศให้สาธารณชนทราบ
|
ภายในเดือนมิถุนายน
|
|
|
|
|
|
|
|
7
|
ติดตามประเมินผลแผนพัฒนาประจำปี
|
อย่างน้อยปีละ
1 ครั้ง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
|
การจัดทำงบประมาณรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
1
|
เมื่อคณะผู้บริหารท้องถิ่นเห็นชอบด้วยกับร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปี
หรืองบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ให้คณะผู้บริหารท้องถิ่นเสนอต่อสภาท้องถิ่น
ภายในวันที่ 15 สิงหาคม
|
แห่งละ
1 ครั้ง ต่อปี
|
- เพื่อให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายและระเบียบของทางราชการ
- สามารถบริหารงานให้มีประสิทธิภาพและประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป้าหมายจำนวน 7,948แห่ง แยกเป็น - องค์การบริหารส่วนจังหวัด
75 แห่ง
- เทศบาล
1,129 แห่ง
- อบต. 6,744 แห่ง
|
- ส่วนพัฒนาระบบงบประมาณและบัญชี กลุ่มพัฒนาระบบ
งบประมาณ
โทร 0-2241-9049
|
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
วิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2541 ข้อ 23
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
วิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2541 ข้อ 24
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
วิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2541 ข้อ 25
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วย
วิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2541 ข้อ 32
|
|
|
|
2
|
กรณีคณะผู้บริหารท้องถิ่นพิจารณาแล้วเห็นว่า ไม่สามารถนำร่างงบประมาณรายจ่ายประจำปี
เสนอต่อสภาท้องถิ่น ทันภายในกำหนด ให้เสนอขออนุมัติต่อสภาท้องถิ่นแล้วรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดทราบ
|
|
|
|
|
|
3
|
เมื่อสภาท้องถิ่นพิจารณาให้ความเห็น-ชอบร่างงบประมาณรายจ่าย
ให้ส่งร่างงบประมาณรายจ่ายไปยังผู้มีอำนาจอนุมัติตามที่กำหนดไว้ในกฎหมายระเบียบ ข้อบังคับขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแต่ละรูปแบบ
|
|
|
|
|
|
|
|
|
4
|
การโอนเงินงบประมาณรายจ่าย
และการแก้ไขเปลี่ยนแปลงคำชี้แจงประมาณการรายรับและงบประมาณรายจ่ายขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเมื่อได้รับอนุมัติจากผู้มีอำนาจแล้วให้ประกาศโดยเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนทราบแล้วรายงานห้ผู้ว่าราชการจังหวัดสำหรับองค์การบริหารส่วนตำบลให้แจ้งนายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ
ทราบภายใน 15 วัน
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
5
|
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นปิดประกาศงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติมที่ได้รับอนุมัติโดยเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนทราบ
ณ สำนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และส่งสำเนางบประมาณรายจ่ายประจำ
และงบประมาณรายจ่ายเพิ่มเติม ที่ประกาศใช้แล้วส่งจังหวัดภายใน 15 วันนับแต่วันสิ้นสุดการประกาศโดยเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนทราบ
|
|
|
|
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2541 ข้อ 39
|
|
|
|
|
|
|
6
|
เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นประกาศรายงานการรับ
จ่ายเงินประจำปี งบประมาณ รายจ่ายและเงินนอกงบประมาณไว้
โดยเปิดเผย ณ สำนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อให้ประชาชนทราบ
ภายในกำหนด 30 วัน และส่งรายงานการรับ จ่ายเงิน ดังกล่าวไปให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
ภายใน 15 วัน แล้วให้จังหวัดรายงานกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ
|
|
|
|
- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยวิธีการงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2541 ข้อ 40
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และสภาตำบลต้องจัดทำรายงานแสดง รายรับ-รายจ่าย และงบทดลองเป็นรายเดือน
เสนอผู้บริหารท้องถิ่นเพื่อทราบ และส่งสำเนาให้ผู้ว่าราชการจังหวัด
สำหรับองค์การบริหารส่วนตำบลให้ส่งนายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอด้วย
สำหรับสภาตำบลเสนอประธานสภาตำบล และรายงานนายอำเภอเพื่อทราบ
เมื่อสิ้นปีงบประมาณให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
และสภาตำบล
|
หลังจากปิดบัญชีสิ้นงวดเดือน
|
รายงานและงบการเงินต่าง
ๆ ประจำ แต่ละเดือน
เพื่อให้ทราบฐานะการเงิน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อเป็นแนวทางในการบริหารงบประมาณ
|
ส่วนพัฒนาระบบงบประมาณและบัญชี
กลุ่มงานพัฒนาระบบบัญชี
โทร 0-2241-9044
|
- ระเบียบ มท. ว่าด้วยการรับเงิน
การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินของสภาตำบล พ.ศ. 2538 ข้อ 45
- ระเบียบ มท. ว่าด้วยการรับเงิน
การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน
และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
พ.ศ. 2541
- ระเบียบกรมการปกครองว่าด้วยการบันทึกบัญชี การจัดทำทะเบียน
และรายงานการเงิน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.
2543
|
|
จัดทำงบแสดงฐานะการเงินและงบประกอบอื่น
ๆ ให้เสร็จสิ้น ภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ เสนอนายอำเภอ และรายงานผู้ว่าราชการจังหวัด
|
ภายใน
60 วัน นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ
|
รายงานและงบการเงินต่าง
ๆ ประจำปี งบประมาณ
|
|
|
|
|
|
|
|
2
|
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
จัดทำงบแสดงฐานะการเงินและงบประกอบอื่น ๆ ส่งให้ สำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน
ตรวจสอบภายใน 90 วัน นับแต่วันสิ้นปี
และส่งสำเนาให้ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ
หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอด้วย
|
ภายใน 90 วัน
นับแต่วันสิ้นปีงบประมาณ
|
สตง. ได้รับรายงานและงบการเงินต่าง ๆ
ประจำปีงบระมาณอย่างช้าภายในสิ้นเดือนธันวาคม
|
|
|
|
-
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ประกาศสำเนางบแสดงฐานะการเงิน และงบประกอบอื่น ๆ
โดยเปิดเผยเพื่อให้ประชาชนทราบ
|
ในเวลาอันสมควร
|
ประชาชนได้รับทราบรายงานและ
งบการเงินต่าง ๆ อย่างทั่วถึง
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ลำดับ
ที่
|
ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ
|
ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ
|
ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน
|
หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ
|
หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)
|
1
|
เจ้าหน้าที่กระทำให้เกิดความเสียหายให้แก่บุคคลภายนอก
ถ้าเจ้าหน้าที่เห็นว่าความเสียหายเกิดขึ้นเนื่องในการที่ตนได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่
ให้เจ้าหน้าที่แจ้งต่อผู้บังคับบัญชาโดยไม่ชักช้าและให้มีการรายงานตามลำดับชั้นถึงหัวหน้าหน่วยงานของรัฐแห่งนั้น
|
- โดยเร็ว
|
1. คำร้องของบุคคลภายนอก
ผู้ถูกกระทำละเมิดได้รับการพิจารณาดำเนินการในแต่ละขั้นตอนเป็นไปตามระเบียบ
กฎหมาย และภายในระยะเวลาที่กำหนด
2. ความพึงพอใจของบุคคลภายนอกผู้ยื่นคำร้องขอให้รัฐชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
|
- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้กระทำละเมิดสังกัดอยู่
|
- ระเบียบสำนักนายก
รัฐมนตรี ว่าด้วยหลักเกณฑ์การปฏิบัติเกี่ยวกับความรับผิดทางละเมิดฯ
พ.ศ. 2539 ข้อ 31
- หนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่ นร 0214/ว 235 ลงวันที่ 28 พ.ย. 2539 ข้อ 3
- หนังสือ
กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.6/
ว 2092 ลงวันที่ 1 ก.ค. 2540
ข้อ 2
|
|
|
|
|
|
|
2
|
- ในกรณีที่ผู้เสียหายยื่นคำขอต่อหน่วยงานของรัฐให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้หน่วยงานของรัฐที่เจ้าหน้าที่ผู้นั้นสังกัด
หรือหน่วยงานของรัฐแห่งใด
แห่งหนึ่งในกรณีที่ความเสียหายเกิดจากผลของการกระทำของเจ้าหน้าที่หลายหน่วยงานรับคำขอนั้น
และดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดโดยไม่ชักช้า
|
- โดยเร็ว
|
|
- หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น
|
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ข้อ 32 ประกอบกับ นส. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี
ฯ ข้อ 3 และ นส.ระทรวงมหาดไทย ฯ ข้อ 2
|
|
- ในกรณีที่ผู้เสียหายยื่นคำขอผิดหน่วยงาน
ให้หน่วยงานผู้รับคำขอรีบส่งเรื่องไปยังหน่วยงานของรัฐที่เห็นว่าเป็นหน่วยงานของรัฐที่จะต้องรับผิดชอบพิจารณาต่อไปและให้แจ้งให้ผู้ยื่นคำขอทราบ
และให้ถือว่าหน่วยงานของรัฐได้รับคำขอให้ชดใช้ค่าสินไหมทดแทนนับแต่วันที่ได้รับคำขอที่ส่งมานั้น
|
โดยเร็ว
|
|
- หน่วยงานของรัฐผู้รับเรื่อง
|
- ระเบียบสำนักนายก
รัฐมนตรีฯ ข้อ 32วรรคสอง
ประกอบกับ นส. สำนักเลขาธิการคณะ รัฐมนตรี
ฯ ข้อ 3 และ นส. กระทรวงมหาดไทย ฯ ข้อ 2
|
|
|
|
|
|
|
3
|
- กรณีเมื่อท้องถิ่นได้รับคำขอให้ชดใช้ค่าเสียหาย และเห็นว่าเป็นเรื่องที่เกี่ยวกับตน
ให้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความ
รับผิดทางละเมิดโดยไม่ชักช้า
|
โดยเร็ว
|
|
- หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น
|
- ระเบียบสำนักนายก
รัฐมนตรีฯ ข้อ 33 ประกอบกับ นส.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีฯ ข้อ 3 และ นส. กระทรวงมหาดไทย ฯ ข้อ 2
|
|
|
|
|
|
|
4
|
การวินิจฉัยสั่งการของผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ
|
|
|
- หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่นและกระทรวงมหาดไทย
|
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ข้อ 31 ข้อ 8 ข้อ 17 ข้อ 32 ข้อ 34
และ ข้อ 38 ประกอบกับ นส. สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีฯ
ข้อ 3 และหนังสือกระทรวงมหาดไทยฯ
ข้อ 2
|
|
4.1 วินิจฉัยสั่งการว่าเจ้าหน้าที่ได้กระทำละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่หรือไม่และจะต้องรับผิดชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอก
รวมทั้งจะต้องใช้สิทธิไล่เบี้ยแก่เจ้าหน้าที่หรือไม่
หรือจะไล่เบี้ยให้ชดใช้เพียงใด แล้วส่งเรื่องให้กระทรวงมหาดไทยตรวจสอบ
|
|
|
|
4.2 ในกรณีที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ยื่นคำขอให้หน่วยงานของรัฐที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนปฏิบัติตามที่กระทรวงมหาดไทยกำหนดและให้คิดดอกเบี้ยตามอัตราผิดนัดนับแต่วันกระทำละเมิดในจำนวนเงินที่ต้องชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ผู้ยื่นคำขอจนถึงวันชำระค่าสินไหมทดแทน
|
|
|
- หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่นและกระทรวงมหาดไทย
|
- เหมือนข้อ
4.1
|
|
4.3 การประนีประนอมยอมความไม่ว่าจะเกิดขึ้นในขั้นตอนใดต้องได้รับความเห็นชอบจากกระทรวงมหาดไทยก่อน
|
|
|
- กระทรวงมหาดไทย
|
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ
ข้อ 31 ข้อ 28 และข้อ 29 ประกอบกับหนังสือสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ฯ ข้อ 3 และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ฯ ข้อ 2
|
|
4.4 กรณีผู้เสียหายยื่นคำขอให้หน่วยงานของรัฐชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้หน่วยงานของรัฐออกใบรับคำขอไว้เป็นหลักฐานและพิจารณาคำขอให้แล้วเสร็จภายใน
180 วัน หากเรื่องใดไม่อาจพิจารณาได้ทันในกำหนดนั้น
จะต้องรายงานปัญหาอุปสรรคให้รัฐมนตรีเจ้าสังกัดหรือควบคุมดูแลหน่วยงานของรัฐแห่งนั้นทราบและขออนุมัติขยายระยะเวลาออกไปได้
แต่รัฐมนตรีดังกล่าวจะพิจารณาให้ขยายเวลาให้อีกได้ไม่เกิน 180 วัน
|
- ไม่เกิน 360 วัน
|
|
- หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่นและกระทรวงมหาดไทย
|
- พ.ร.บ. ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่
พ.ศ. 2539 มาตรา 11
|
|
4.5 เมื่อหน่วยงานของรัฐวินิจฉัยสำนวนการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดและคำขอของผู้เสียหายแล้วผู้เสียหายมีสิทธิฟ้องคดีต่อศาลปกครองได้ภายใน
90 วัน นับแต่ได้รับแจ้งผลการวินิจฉัย
|
-
90 วัน
|
|
- กระทรวงมหาดไทยและหัวหน้าฝายบริหารของกระทรวงมหาดไทย
|
- พ.ร.บ.
ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่ พ.ศ.
2539 มาตรา 11
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ข้อ 34 ข้อ 38 ประกอบกับ นส.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ฯ ข้อ 3 และ นส. กระทรวงมหาดไทยฯ ข้อ 2
|
|
|
|
|
|
|
5
|
ในกรณีผู้เสียหายฟ้องคดีต่อศาลให้ผู้มีอำนาจแต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดโดยไม่ชักช้า
เว้นแต่จะมีการแต่งตั้งคณะกรรมการไว้แล้วและให้ประสานกับสำนักงานอัยการสูงสุดเพื่อเตรียมการต่อสู้คดีต่อไป
พร้อมทั้งรายงานให้กระทรวงหาดไทยทราบและปฏิบัติตามที่ได้รับแนะนำจากระทรวงมหาดไทย
|
โดยเร็ว
|
|
หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่นและกระทรวงมหาดไทย
|
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ
ข้อ 35ประกอบกับ นส.สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีฯ ข้อ 3 และหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ฯ ข้อ 2
|
|
|
|
|
|
|
6
|
ถ้าผู้แต่งตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิด
เห็นว่าความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่มิได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ หรือเมื่อได้ฟังความเห็นของคณะกรรมการ
หรือได้รับทราบผลจากกระทรวงมหาดไทยแล้วเห็นว่าความเสียหายจากเจ้าหน้าที่มิได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่ให้เรียกเจ้าหน้าที่ผู้นั้นเข้ามาเป็นคู่ความในคดีด้วย
|
- โดยเร็ว
|
|
หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่นและกระทรวงมหาดไทย
|
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ ข้อ 37ประกอบกับ นส.
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีฯ
ข้อ 3 และหนังสือกระทรวงมหาดไทย ฯ ข้อ 2
|
|
|
|
|
|
|
7
|
ถ้าผลการพิจารณาของผู้แต่งตั้งยุติเป็นที่สุดว่าความเสียหายเกิดจากเจ้าหน้าที่ได้กระทำในการปฏิบัติหน้าที่จะต้องไม่มีการเรียกเจ้าหน้าที่เข้ามาเป็นคู่ความในคดี
แต่ถ้าผู้เสียหายได้ฟ้องเจ้าหน้าที่ต่อศาลก่อนแล้วหรือ
|
โดยเร็ว
|
|
หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น
|
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ
ข้อ 37ประกอบกับ นส.สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ฯ ข้อ 3 และหนังสือกระทรวงมหาดไทย
ฯ ข้อ 2
|
|
มีการเรียกเจ้าหน้าที่เข้ามาเป็นคู่ความในคดีแล้วให้ผู้แต่งตั้งแจ้งผลการพิจารณาให้พนักงานอัยการแถลงต่อศาล
เพื่อให้เจ้าหน้าที่มีโอกาสพ้นจากการเป็นคู่ความในคดี
และขอให้พนักงานอัยการช่วยเหลือทางคดีแก่เจ้าหน้าที่ในระหว่างนั้นด้วย
|
|
|
หน่วยงานส่วนกลางกองกฎหมายระเบียบ ท้องถิ่น โทร 0-2241-9035
|
|
|
|
|
|
|
|