แนวทางปฏิบัติราชการด้านการบริการประชาชน

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (เทศบาล /เมืองพัทยา)

 

เรื่อง การดำเนินการกำหนดเลขบ้าน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

 

 

 

 

 

1

เจ้าบ้านแจ้งการปลูกสร้างบ้านต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่บ้านตั้งอยู่พร้อมหลักฐาน เช่น บัตรประจำตัวประชาชน หลักฐานแสดงการเป็นเจ้าของหรือหลักฐานการขออนุญาตปลูกบ้าน (ถ้ามี) โดยใช้แบบพิมพ์ ท..9 เป็นแบบพิมพ์การรับแจ้ง

ภายใน 15 วัน นับแต่วันสร้างบ้านเสร็จ

1. ทะเบียนบ้าน และ สำเนาทะเบียน ฉบับเจ้าบ้าน ซึ่งดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด

2. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับ

บริการ

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ...การทะเบียนราษฎร พ.. 2534 มาตรา 34

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 32

 

 

 

 

 

 

 

2

นายทะเบียนผู้รับแจ้งต้องตรวจสอบว่ามีสภาพเป็นบ้านตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนราษฎรหรือไม่ ถ้าเป็นบ้านให้กำหนดเลขประจำบ้านให้แก่ผู้แจ้ง โดยในเขตสำนักทะเบียนท้องถิ่นจะต้องกำหนดเลขประจำบ้านภายใน 7 วัน

ระยะเวลาให้บริการภายใน  3 วันทำการ   โดยประมาณ

 

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ...การทะเบียนราษฎร
.. 2534 มาตรา 4 และ 34

 

 

 

 

 

 

3

จัดทำทะเบียนบ้านและสำเนา

ทะเบียนบ้าน โดยกรอกรายการ

เลขประจำบ้านในทะเบียนบ้าน

ระยะเวลาให้บริการลำดับที่  3-5  ภายใน

30 นาที่ต่อรายโดยประมาณ

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ...การทะเบียนราษฎร
.. 2534 มาตรา 36

 

 

 

 

 

4

กำหนดเลขรหัสประจำบ้านจาก

แบบพิมพ์ ท..99 .

 

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

 

 

 

 

 

 

 

5

มอบหลักฐานพร้อมด้วยสำเนา

ทะเบียนบ้านคืนให้แก่ผู้แจ้งแล้ว

ส่งสำเนา ท..99 . รายงานไปยังศูนย์ฯ ภาคหรือศูนย์ฯ จังหวัด

ที่สำนักทะเบียนอยู่ในพื้นที่

รับผิดชอบ

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบฯ ข้อ 32

 

 

เรื่อง การดำเนินการแจ้งเกิด (เกิดในบ้าน)

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

เจ้าบ้านหรือบิดาหรือมารดาแจ้งการเกิดต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่เด็กเกิด พร้อมทั้งแจ้งชื่อคนเกิดด้วย โดยแนบ

เอกสารหลักฐาน  ดังนี้

- สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

- บัตรประจำตัวผู้แจ้งหรือ บัตรประจำตัวบิดา

-  หนังสือรับรองการเกิด(ทร.1/1)(ถ้ามี)และให้นายทะเบียนตรวจสอบกับทะเบียนบ้าน

เจ้าบ้าน/บิดา/

มารดา จะต้อง

แจ้งภายในกำหนด 15 วัน

1. สูติบัตรซึ่งดำเนินการแล้วเสร็จตามตามเวลาที่กำหนด

2. ทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านซึ่งได้เพิ่มชื่อและรายการบุคคลตามสูติบัตรแล้ว

3.  ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ...การทะเบียนราษฎร

..2534 .18

- ระเบียบสำนักทะเบียนกลางฯว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 52

 

 

 

 

 

 

2

นำสูติบัตรมากรอกข้อความทั้ง 3 ตอน

ระยะเวลาให้บริการลำดับที่

2-5  ภายใน   20  นาที     โดยประมาณ

 

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ระเบียบฯ ข้อ 52

 

 

 

 

 

3

เพิ่มชื่อและรายการบุคคลตาม

สูติบัตรลงในทะเบียนบ้านและ

สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบฯ ข้อ 52

 

 

 

 

 

 

4

มอบสูติบัตรตอนที่ 1 ..26 ตอนที่ 1 พร้อมหลักฐานคืน

ผู้แจ้ง  สูติบัตร ตอนที่ 2 ให้สำนักทะเบียนจัดเก็บไว้เป็นทะเบียนคนเกิด  และให้ออกบัตรทะเบียนคนเกิด ตามแบบ ท..26 โดยจัดทำทะเบียนคุม การออกบัตร ท..26  และให้ผู้แจ้งลงลายมือชื่อรับบัตร ท.. 26 ในทะเบียนคุมทุกราย

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบฯ ข้อ 52 และระเบียบ

สำนักทะเบียนกลาง ว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 4)

..2545 ข้อ 5

 

 

 

 

 

 

5

รายงานสูติบัตรตอนที่ 2 พร้อม

..26 ตอนที่ 2 ไปยังศูนย์

ประมวลผลข้อมูลภาคหรือศูนย์

จังหวัด  ส่วนตอนที่ 3 ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่

 

 

 

หมายเหตุ  การจัดทำทะเบียนคนเกิด (..26) เป็นไปตามพื้นที่หรือระยะเวลาที่ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนด

 

 

เรื่อง การดำเนินการแจ้งตาย (ตายในบ้าน)

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

 

 

 

 

 

1

เจ้าบ้านแจ้งการตายต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่มีคนตายในกรณีที่ไม่มีเจ้าบ้านให้ผู้พบศพเป็นผู้แจ้ง

เจ้าบ้านจะต้อง

แจ้งต่อ

นายทะเบียน

ภายใน 24 ชม.นับแต่เวลาตายหรือเวลาพบศพ

1. ใบมรณบัตรซึ่งดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด

2. ทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านซึ่งได้จำหน่ายรายการคนตายแล้ว

3.  ความพึงพอใจ

ของประชาชนผู้รับบริการ

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ...การทะเบียนราษฎร

..2534 .21

 

 

 

 

 

2

นายทะเบียนผู้รับแจ้งเรียกและ

ตรวจสอบบัตรประจำตัวผู้แจ้ง

หนังสือรับรองการตาย ท..4/1

(ถ้ามี) สำเนาทะเบียนบ้านฉบับ

เจ้าบ้านที่คนตายมีชื่อและรายการบุคคลอยู่ (ถ้ามี)

ระยะเวลาให้บริการลำดับที่ 2-5  ภายใน  20 นาทีต่อราย  โดยประมาณ

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 61

 

 

 

 

 

3

กรอกรายการลงในมรณะบัตร

ทั้ง 3 ตอน

 

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ระเบียบฯ ข้อ 61

 

 

 

 

 

4

จำหน่ายรายการในทะเบียนบ้าน

และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับ

เจ้าบ้าน โดยประทับคำว่า “ตาย”

สีแดงไว้หน้ารายการคนตาย

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบฯ ข้อ 61

 

 

 

 

 

5

มอบมรณบัตรตอนที่ 1 พร้อม

หลักฐานคืนผู้แจ้ง, ตอนที่ 2

รายงานไปยังศูนย์ประมวลผล

ข้อมูลภาคหรือศูนย์จังหวัด,

ตอนที่ 3 ส่งหน่วยงานสาธารณสุขในพื้นที่

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

- ระเบียบฯ ข้อ 61

- ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร  (ฉบับที่ 4) .. 2545 ข้อ 6

 

 

 

เรื่อง การดำเนินการแจ้งย้ายที่อยู่ (ย้ายออก)

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

เจ้าบ้านแจ้งการย้ายที่อยู่ต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง โดยนำหลักฐานสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและบัตรประจำตัวประชาชนผู้แจ้งไปแสดงต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้ง

เจ้าบ้านจะต้องแจ้งย้ายออกภายใน 15 วันนับแต่วันที่ผู้อยู่ในบ้านย้ายออก

1. ใบแจ้งการย้ายซึ่งดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด

 

2. ทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านซึ่งได้จำหน่ายชื่อผู้ขอย้ายออกแล้ว

 

3. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

 

- ...การทะเบียนราษฎร

..2534 .30

- ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 4) ..2545 ข้อ 7

 

 

 

 

 

2

นายทะเบียนผู้รับแจ้งตรวจสอบ

หลักฐานและตรวจสอบรายการ

บุคคลที่จะแจ้งย้ายออก

ระยะเวลาให้บริการลำดับที่ 2-5  ภายใน

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 79

 

 

 

 

 

3

กรอกรายการในใบแจ้งการย้าย

ที่อยู่ทั้ง 3 ตอน

20 นาทีต่อราย  โดย

นายทะเบียน

ผู้รับแจ้ง

-  ระเบียบฯ ข้อ 79

 

 

 

 

 

4

จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลที่ย้ายออกจากทะเบียนบ้านและ

สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน โดยประทับคำว่า “ย้าย” สีน้ำเงินไว้หน้ารายการคนย้ายออก

ประมาณ

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบฯ ข้อ 79

 

 

 

 

 

5

- มอบใบแจ้งการย้ายที่อยู่ตอนที่ 1,2 พร้อมหลักฐานการแจ้งคืนผู้แจ้ง

- เก็บใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ตอนที่ 3 ไว้เป็นหลักฐาน โดยไม่ต้องส่งศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  หนังสือสำนักทะเบียนกลาง

ที่ มท 0310.1/5 ลงวันที่

1 มี.. 2538

 

 

เรื่อง การดำเนินการเพิ่มชื่อและรายการบุคลเข้าในทะเบียนบ้าน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

ผู้ร้องขอเพิ่มชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านต่อนายทะเบียนท้องถิ่นแห่งท้องที่ที่ผู้ร้องมีภูมิลำเนาอยู่หรือแห่งท้องที่ที่ออกหลักฐานแล้วแต่กรณี

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

1. ทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านซึ่งได้เพิ่มชื่อและรายการบุคคลแล้ว

2. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

- ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 93-108

- ระเบียบฯ (ฉบับที่ 4) ..2545 ข้อ 8,9,10, 11,12 และ 13

- ระเบียบฯ (ฉบับที่ 3) ..2544 ข้อ 6 แล้วแต่กรณี

- หนังสือสำนักทะเบียนกลางที่ มท 0310.0/10 ลงวันที่ 1 เม..45

2

นายทะเบียนเรียกหลักฐานประกอบ แล้วแต่กรณี

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

3

สอบสวนผู้ร้องเจ้าบ้านและหรือบุคคลที่น่าเชื่อถือแล้วแต่กรณี

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

4

ทำหนังสือขอตรวจสอบไปยังสำนักทะเบียนกลางหรือสำนักทะเบียนจังหวัดหรือสำนักทะเบียนข้างเคียงที่ปฏิบัติงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ว่า ผู้ร้องมีชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านแห่งอื่นหรือไม่ แล้วแต่กรณี

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

5

ในกรณีที่มีอำนาจอนุญาตก็สามารถอนุญาตได้ หรือกรณีไม่มีอำนาจก็เสนอให้นายอำเภออนุมัติ แล้วแต่กรณี

 

 

นายทะเบียนท้องถิ่นหรือนายอำเภอแล้วแต่กรณี

 

6

เมื่ออนุญาตหรือได้รับอนุมัติแล้วให้เพิ่มชื่อและรายการบุคคลลงในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

7

กำหนดเลขประจำตัวประชาชนตามแบบพิมพ์ ท..98 . ..98 . หรือ ท..98 . แล้วแต่กรณี

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

8

ส่ง ท..98 ., ..98 . หรือ

..98 . ตอนที่ 2 รายงานไปยังศูนย์ฯ ภาคหรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

 

เรื่อง การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

l การจำหน่ายรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน มีหลายกรณี ได้แก่

1. กรณีบุคคลมีชื่อซ้ำในทะเบียนบ้านเกินกว่า 1 แห่ง

2. กรณีบุคคลมีชื่อในทะเบียนบ้านโดยมิชอบ

3. กรณีตายแต่ยังไม่ได้จำหน่ายตาย

4. กรณีบุคคลสาบสูญ

l ผู้มีหน้าที่แจ้ง ได้แก่ เจ้าบ้าน

หรือผู้ที่เจ้าบ้านมอบอำนาจหรือ

บุคคลที่มีชื่อซ้ำ แล้วแต่กรณี

 

 

 

-  ..บ การทะเบียนราษฎร  .. 2534 มาตรา 10

 

 

 

 

 

 

1

การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน

เนื่องจากมีชื่อและรายการบุคคล

ในทะเบียนบ้านเกินกว่า 1 แห่ง

ให้ดำเนินการดังนี้

 

 

 

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 109

 

1.1 กรณีผู้มีชื่อซ้ำมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในสำนักทะเบียนเดียวกัน (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

(1) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่มีรายการบุคคลซ้ำกัน บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้งหรือบัตรประจำตัวประชาชนเจ้าบ้าน

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

1.ทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านซึ่งได้จำหน่ายชื่อและ รายการบุคคลแล้ว

2. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(2) บันทึกถ้อยคำเจ้าบ้านหรือคนที่มีชื่อซ้ำเพื่อยืนยันที่อยู่แน่นอนว่าตามข้อเท็จจริงอาศัยอยู่บ้านหลังใด

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(3) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคล

ออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้อาศัยอยู่ ตามแบบ ท..97 . โดยให้ประทับคำว่า “จำหน่าย” ด้วยสีน้ำเงินหน้ารายการบุคคลและให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ในทะเบียนบ้านว่า “ชื่อซ้ำ ตามคำร้องที่…..ลงวันที่ …..” แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(4) ส่ง ท..97 . ตอนที่ 1

ไปยังศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ

จังหวัด

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

1.2  กรณีผู้มีชื่อซ้ำมีชื่ออยู่ใน

ทะเบียนบ้านต่างสำนักทะเบียน (ไม่เสียค่าธรรมเนียม) ดำเนินการ ดังนี้

(1) ถ้าบุคคลที่มีชื่อซ้ำนำหลักฐานมาแสดงเพื่อขอให้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน ให้บันทึกถ้อยคำบุคคลดังกล่าวเพื่อยืนยันที่อยู่แน่นอน

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

1.ทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านซึ่งได้จำหน่ายชื่อและ รายการบุคคลแล้ว

2. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(2) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านที่บุคคลดังกล่าวไม่ได้อาศัยอยู่ ตามแบบ ท..97 . โดยให้ประทับคำว่า “จำหน่าย” ด้วยสีน้ำเงินหน้า  รายการบุคคลและให้หมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ในทะเบียนบ้านว่า “จำหน่ายชื่อซ้ำ ตามหนังสือที่ ….. ลงวันที่ ….. หรือคำร้องที่ …… ลงวันที่ …….” แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(3)  ส่ง ท..97 . ตอนที่ 1 ไปยังศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ

จังหวัด

 

 

 

 

 

(4) ถ้าได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนที่บุคคลมีชื่อซ้ำมีชื่ออยู่ ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับ (2)-(3) และแจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาดำเนินการจำหน่ายรายการให้ถูกต้อง

 

 

 

 

 

1.3 กรณีที่ได้รับแจ้งจากสำนักทะเบียนกลาง

 

 

 

 

 

(1) ถ้าบุคคลที่มีชื่อซ้ำอยู่ในเขตสำนักทะเบียนด้วยกัน ให้ดำเนินการเช่นเดียวกับกรณีตามข้อ 1.1

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(2) ถ้าบุคคลที่มีชื่อซ้ำอยู่

ต่างสำนักทะเบียนให้แจ้ง
เจ้าบ้านหรือบุคคลที่มีชื่อซ้ำเพื่อมาให้ถ้อยคำยืนยันที่อยู่แน่นอนและดำเนินการจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านเช่นเดียวกับกรณีตามข้อ 1.2

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

 

2

การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลที่มีชื่อในทะเบียนบ้าน

โดยมิชอบ

2.1 กรณีสำนักทะเบียนที่พบเหตุเป็นสำนักทะเบียนต้นทางที่เกิดเหตุ ให้ดำเนินการ ดังนี้

 

 

 

 

 

(1) สอบสวนพยานบุคคลและพยานเอกสารทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการมีชื่อในทะเบียนบ้านของบุคคลดังกล่าว

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 110 

 

(2) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดพร้อมความเห็นเสนอนายอำเภอท้องที่เพื่อขออนุมัติจำหน่ายรายการบุคคล

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  หนังสือกระทรวงมหาดไทย

ปกปิด ที่ มท 0310.1/8

ลงวันที่ 19 มกราคม 2544

 

(3) เมื่อนายอำเภอพิจารณาแล้วอนุมัติให้นายทะเบียนท้องถิ่น จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน โดยหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า “จำหน่าย” เนื่องจากเหตุทุจริต ตามหนังสือที่ … ลงวันที่ …” แล้วให้ลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้

 

 

นายอำเภอ

หรืออาจมอบอำนาจให้

ปลัดอำเภอ

หัวหน้าฝ่ายทะเบียนและบัตรอนุมัติในนามผู้ปฏิบัติราชการแทนนายอำเภอ

- หนังสือสำนักทะเบียนกลาง

ที่ มท 0310.1/6

ลว. 14 .. 2544

และหนังสือสำนักทะเบียนกลาง

ที่ มท 0310.1/10

ลว. 1 เม.. 2545

 

4) ยกเลิกเพิกถอนเอกสารการทะเบียนราษฎรที่เกี่ยวข้องกับบุคคลที่มีชื่อและรายการบุคคลโดยมิชอบทั้งหมด

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(5) มอบหมายให้ผู้ช่วยนายทะเบียนไปแจ้งความต่อพนักงานสอบสวนเพื่อดำเนินคดีกับผู้กระทำการทุจริตและผู้มีส่วนร่วมกระทำการทุจริตทุกคนโดยหากการทุจริตมีเจ้าหน้าที่ร่วมมือด้วย ให้ตั้งกรรมการสอบสวนทางวินัยและดำเนินคดีอาญา

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

- ... การทะเบียนราษฎร
.. 2543 มาตรา 50

 

(6) หากพบว่ารายการบุคคลที่มีการเพิ่มชื่อโดยมิชอบแจ้งย้ายที่อยู่ไปที่สำนักทะเบียนอื่น ให้ทำหนังสือแจ้งไปยังสำนักทะเบียนนั้นเพื่อให้จำหน่ายรายการบุคคลในเอกสารทะเบียนราษฎร ทั้งนี้ ให้ส่งสำเนารายงานประจำวันเกี่ยวกับคดีและสำเนาใบแจ้งการย้ายที่อยู่แนบไปด้วย

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

- หนังสือสำนักทะเบียนกลางที่ มท 0310.1/6 ลว. 14 .. 2544

 

(7) รายงานการจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลตามแบบ ท..97ก ตอนที่ 1 ไปยังศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(8) รายงานผลการดำเนินการไปยังสำนักทะเบียนจังหวัด และ

สำนักทะเบียนกลางโดยด่วน

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

2.2 กรณีได้รับแจ้งจากสำนัก

ทะเบียนที่ตรวจพบเหตุทุจริต

หรือสำนักทะเบียนกลาง ให้ดำเนินการ ดังนี้

 

 

 

- ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 110

 

(1) ตรวจสอบทะเบียนบ้านว่ามี

รายการบุคคลตามที่ได้รับแจ้งหรือไม่ บุคคลดังกล่าวมีการทำธุรกรรมทางการทะเบียนอย่างอื่นหรือไม่

ไว้

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  หนังสือสำนักทะเบียนกลาง ที่ มท 0310.1/6 ลว. 14 .. 2544

 

(2) เมื่อนายทะเบียนมีคำสั่งให้จำหน่ายรายการบุคคลที่มีการทุจริตตามที่ได้รับแจ้งแล้ว ให้ประทับคำว่า “จำหน่าย” หน้ารายการบุคคลดังกล่าวในทะเบียนบ้าน และหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า “จำหน่ายเนื่องจากเหตุทุจริต ตามหนังสือที่…ลงวันที่…” แล้วให้ลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับ

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(3) แจ้งเจ้าบ้านให้นำสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านมาจำหน่ายรายการบุคคลให้ถูกต้องตรงกันต่อไป โดยดำเนินการเช่นเดียวกับทะเบียนบ้านฉบับสำนักทะเบียน

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

(4) ส่งรายงาน ท..97ก ตอนที่1

ไปยังศูนย์ฯ ภาคหรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

 

3

กรณีบุคคลในทะเบียนบ้านตายแต่ยังไม่ได้จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน

(ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม) ให้ดำเนินการดังนี้

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

- ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 111

 

(1) เรียกและตรวจหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัว

ประชาชนเจ้าบ้าน เอกสารที่

เกี่ยวข้องกับตัวผู้ตาย (ถ้ามี)

 

 

 

 

(2) สอบสวนเจ้าบ้านและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริงถึงสาเหตุที่ยังปรากฏชื่อและ รายการคนตายในทะเบียนบ้าน

 

 

 

 

 

(3) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

ตามแบบ ท..97 ก โดยประทับ

คำว่า “จำหน่าย” หน้ารายการบุคคลและให้หมายเหตุในช่อง

ย้ายออกไปที่ว่า “จำหน่ายตาม

คำร้องที่… ลงวันที่ …” แล้วให้ นายทะเบียนลงลายมือชื่อและ

วันเดือนปีกำกับไว้

 

 

 

 

 

(4) ส่ง ท..97 ก ตอนที่ 1
ไปยังศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4

การจำหน่ายชื่อและรายการบุคคลกรณีคนสาบสูญ ให้ดำเนินการดังนี้

(1) เรียกและตรวจหลักฐานคำสั่งศาลให้เป็นคนสาบสูญ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวเจ้าบ้าน บัตรหรือสำเนาบัตรประจำตัวของคนสาบสูญ (ถ้ามี)

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

 

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร (ฉบับที่ 4) .. 2545 ข้อ 14

 

(2) สอบสวนเจ้าบ้านและบุคคลที่น่าเชื่อถือให้ปรากฏข้อเท็จจริง

เกี่ยวกับคนสาบสูญ

 

 

 

 

 

(3) จำหน่ายชื่อและรายการบุคคลในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน โดยหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า “จำหน่ายตามคำร้อง ที่…ลงวันที่…” แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้

 

 

 

 

5

กรณีคนสัญชาติไทย หรือคนต่างด้าวที่มีใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว ตายที่ต่างประเทศและเจ้าบ้านมีความประสงค์จะขอจำหน่ายชื่อออกจากทะเบียนบ้าน (ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม) ให้ดำเนินการดังนี้

 

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

นายทะเบียน

ท้องถิ่น

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535 ข้อ 112

 

(1) เรียกและตรวจหลักฐานของ

ผู้แจ้ง ได้แก่ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัว

ประชาชนเจ้าบ้าน หลักฐานการจดทะเบียนคนตาย (มรณบัตร) ที่ออกให้โดยสถานทูตไทยหรือ

สถานกงสุลไทยในต่างประเทศ

หรือหลักฐานการตายที่ออกโดย

รัฐบาลของประเทศนั้น ซึ่งได้แปลและรับรองคำแปลถูกต้อง

โดยกระทรวงการต่างประเทศ

และบัตรประจำตัวผู้ตาย (ถ้ามี)

 

 

 

 

 

(2) จำหน่ายชื่อและรายการคนตายในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน ตามแบบ ท..97 ก โดยประทับคำว่า“ตาย” ไว้หน้ารายการคนตายพร้อมทั้งหมายเหตุในช่องย้ายออกไปที่ว่า “จำหน่ายตายตามคำร้อง ที่…ลงวันที่…” แล้วให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้

 

 

 

 

 

(3) ส่ง ท..97 ก ตอนที่ 1 ไปยัง

ศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

 

 

 

เรื่อง การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

l เอกสารการทะเบียนราษฎรที่สามารถขอแก้ไขเปลี่ยนแปลง

รายการได้ คือ

1. ทะเบียนบ้านและสำเนา

ทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

2. สูติบัตร และทะเบียนคนเกิด

3. มรณะบัตรและทะเบียนคนตาย

4. ใบแจ้งการย้ายที่อยู่

 

 

 

 

 

l ผู้มีหน้าที่แจ้ง ได้แก่ เจ้าบ้านบิดามารดา ผู้ได้รับมอบหมายจากเจ้าบ้าน หรือผู้ที่เจ้าบ้านเป็นเจ้าของประวัติ

 

 

 

 

 

l สถานที่ยื่นคำร้อง ได้แก่

 

 

 

 

 

1. การแก้ไขรายการในทะเบียนบ้าน สูติบัตร และมรณะบัตร ให้ยื่นคำร้องที่สำนักทะเบียนอำเภอหรือสำนักทะเบียนท้องถิ่นแห่งที่ผู้นั้นมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน

 

 

 

-  ระเบียบสำนักทะเบียนกลางว่าด้วยการจัดทำทะเบียนราษฎร พ.. 2535

 

2. การแก้ไขรายการในทะเบียนคนเกิด ทะเบียนคนตาย และใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ให้ยื่นคำร้องที่สำนักทะเบียนท้องที่ที่จัดทำทะเบียนคนเกิดหรือทะเบียนคนตาย หรือใบแจ้งการย้ายที่อยู่

 

 

 

-  ระเบียบฯ ข้อ 117 , 118

 

l การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร ให้ใช้วิธีขีดฆ่าคำหรือข้อความเดิมแล้วเขียนคำหรือข้อความ ที่ถูกต้องแทนด้วยหมึกสีแดง และให้นายทะเบียนลงลายมือชื่อและวันเดือนปีกำกับไว้ โดยห้ามมิให้ใช้วิธีลบ ขูด หรือทำด้วยประการใดให้ข้อความลบเลือนไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1

การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎร(ทะเบียนบ้าน สูจิบัตร มรณบัตร ใบแจ้งการย้ายที่อยู่) โดยมีหลีกฐานเอกสารราชการ (ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม) ให้ดำเนินการดังนี้

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

 

นายทะเบียนท้องถิ่น

ระเบียบฯ ข้อ 115 (1)

 

(1) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้ง เอกสารราชการที่ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงในการขอแก้ไขรายการ เช่นสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิม สูติบัตร ใบสำคัญการสมรส ใบสำคัญถิ่นที่อยู่ หรือใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว หนังสือรับรองของแพทย์ (กรณีขอแก้ไขเพศ) เป็นต้น

 

 

 

 

 

(2) กรณีหลักฐานเอกสารตาม (1) ยังไม่ชัดเจน ให้สอบสวนพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือเพิ่มเติม

 

 

 

 

 

(3) แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่ไม่ถูกต้องในเอกสารการทะเบียนราษฎร ตามคำร้องโดยใช้แบบพิมพ์ ท..97 ก ทั้งนี้ หากการแก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน ให้นายทะเบียนแก้ไขรายการในทะเบียนบ้านให้ถูกต้อง

 

 

 

 

 

(4) ส่ง ท..97 ก ตอนที่ 1 ไปยังศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

การแก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรโดยเอกสารการทะเบียนราษฎรโดยไม่มีหลักฐานเอกสารราชการ(ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม)ให้ดำเนินการดังนี้

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

 

นายทะเบียนท้องถิ่น

ส่วนอำนาจการอนุมัติเป็นของนายอำเภอหรืออาจมอบอำนาจให้ปลัดอำเภอหัวหน้าฝ่ายทะเบียนและบัตรอนุมัติในนามผู้ปฏิบัติราชการแทนนายอำเภอ

- ระเบียบฯ ข้อ 115 (1)

 

 

(1)  เรียกหลักฐานสำเนาะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวประชาชนของผู้แจ้ง

 

 

 

(2) สอบสวนเจ้าบ้านและพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือ เช่น บิดามารดา ญาติพี่น้อง ผู้ที่มีนิติสัมพันธ์หรือมีความเกี่ยวข้องกับบุคคลที่รายการทะเบียนราษฎรผิดพลาดเพื่อให้ปรากฏข้อเท็จจริง

 

 

 

(3) แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการที่ไม่ถูกต้องในเอกสารการทะเบียนราษฎร ตามคำร้องโดยใช้แบบพิมพ์ ท..97 ก ทั้งนี้ หากการแก้ไขรายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงรายการในทะเบียนบ้าน ให้นายทะเบียนแก้ไขรายการในทะเบียนบ้านให้ถูกต้อง

 

 

 

 

 

(4) ส่ง ท..97 ก ตอนที่ 1 ไปยัง

ศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

 

 

3

การแก้ไขรายการสัญชาติของ เจ้าของประวัติ ซึ่งปรากฏ รายการในเอกสารการทะเบียนราษฎรจากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติ หรือการคัดลอกรายการผิดพลาด หรือการลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริง (ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม)ให้ดำเนินการ ดังนี้

 

 

 

-  ระเบียบฯ ข้อ 115 (1)

 

(1) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวผู้แจ้ง (ถ้ามี) บัตรประจำตัวบิดามารดา (ถ้ามี) หลักฐานเอกสารที่ทางราชการออกให้ที่ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงในการแก้ไขรายการ (ถ้ามี) เช่น หนังสือสำคัญการแปลงสัญชาติเป็นไทย เป็นต้น

 

 

 

 

 

(2) สอบสวนผู้แจ้งและพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือเพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง

 

 

 

 

 

(3) รวบรวมหลักฐานทั้งหมดเสนอนายอำเภอท้องที่พิจารณา

 

 

 

 

 

(4) เมื่อได้รับอนุมัติให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร โดยใช้แบบพิมพ์ ท..97

 

 

 

 

 

(5) กรณีการแก้ไขรายการสัญชาติของบุคคลประเภท 6หรือประเภท 7 หรือผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน (..13) ให้กำหนดเลขประจำตัวประชาชนให้ใหม่ตามแบบพิมพ์  ..98 กหรือ..98 ค แล้วแต่กรณีแล้วจำหน่ายรายการบุคคลออกจากทะเบียนบ้าน (..13) ไปเพิ่มรายการในทะเบียนบ้าน  (..14)

 

 

 

 

 

(6) ส่ง ท..97 ก ตอนที่ 1 และ  .. 98 ไปยังศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

หมายเหตุ

กรณีแก้ไขรายการสัญชาติในสูติบัตร (..3) ไม่ให้ใช้วิธีการแก้ไขรายการ แต่ให้บันทึกการแก้ไขไว้ด้านหลังสูติบัตรว่า ได้สัญชาติไทยตาม พ...สัญชาติ พ..2508 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่  2)  ..2535 มาตรา 7 (1) และแก้ไขเลขประจำตัวประชาชนเป็นเลข 5 ตามแบบ ท.. 98 กเลขที่ ลว แล้วลงลายมือชื่อนายทะเบียนและวันเดือนปี กำกับไว้

 

 

 

-  หนังสือสำนักทะเบียนกลางด่วนมาก ที่ มท 0322/11 ลงวันที่ 29 มี.. 2536

 

 

 

 

 

 

4

การแก้ไขรายการสัญชาติในช่องรายการสัญชาติของบิดาหรือมารดาของเจ้าของประวัติในเอกสารการทะเบียนราษฎรจากสัญชาติอื่นหรือไม่มีสัญชาติ เป็นสัญชาติไทยเนื่องจากการคัดลอกรายการผิดพลาดหรือบิดามารดาได้รับสัญชาติไทยหรือ  ได้แปลงสัญชาติเป็นไทย ให้ดำเนินการ  ดังนี้

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

 

นายทะเบียนท้องถิ่น

- ระเบียบฯ (ฉบับที่ 4) .. 2545 ข้อ 16

 

(1) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัว   ผู้แจ้ง บัตรประจำตัวบิดามารดา  (ถ้ามี) หลักฐานเอกสารที่ทางราชการออกให้ที่ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงในการแก้ไขรายการ เช่น  หนังสือสำคัญการแปลงสัญชาติเป็นไทยของบิดาหรือมารดา  สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเดิม เป็นต้น

 

 

 

 

 

(2) สอบสวนผู้แจ้งและพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือ เพื่อให้ปรากฏข้อเท็จจริง

 

 

 

 

 

 

(3) เมื่อนายทะเบียนอนุญาตให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร โดยใช้แบบพิมพ์ ..97

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5

การแก้ไขรายการสัญชาติจากสัญชาติไทยหรือจากไม่มีสัญชาติอื่นเป็นสัญชาติอื่น เนื่องจากการคัดลอกรายการผิดพลาด หรือลงรายการผิดไปจากข้อเท็จจริง หรือการเสียสัญชาติไทย  (ไม่เรียกเก็บค่าธรรมเนียม)ให้ดำเนินการ ดังนี้

 

ระยะเวลาเป็นไปตามขั้นตอนการสอบสวนและการตรวจสอบเอกสาร

 

 

 

(1) เรียกและตรวจสอบหลักฐานของผู้แจ้ง ได้แก่ สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน บัตรประจำตัวผู้แจ้ง(ถ้ามี) บัตรประจำตัวบิดามารดา (ถ้ามี) หลักฐานเอกสารที่ทางราชการออกให้ที่ใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงในการแก้ไขรายการ (ถ้ามี)

 

 

นายทะเบียนท้องถิ่น

- ระเบียบฯ (ฉบับที่ 4) .. 2545 ข้อ 16

 

(2) สอบสวนผู้แจ้งและพยานบุคคลที่น่าเชื่อถือ เพื่อให้ได้ข้อเท็จจริง

 

 

 

 

 

(3) เมื่อนายทะเบียนอนุญาตให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการสัญชาติในเอกสารการทะเบียนราษฎร โดยใช้แบบพิมพ์  .. 97

 

 

 

 

 

(4) ส่ง ท..97 ก ตอนที่ 1 และ ท.. 98 ไปยังศูนย์ฯ ภาค หรือศูนย์ฯ จังหวัด

 

 

 

 

 

หมายเหตุ

กรณีการแก้ไขรายการสัญชาติจากสัญชาติไทยเป็นสัญชาติอื่น

เนื่องจากการเสียสัญชาติไทยให้นายทะเบียนแจ้งผู้ที่เสียสัญชาติไทยติดต่อเพื่อขึ้นทะเบียนคนต่างด้าวตามกฎหมายว่าด้วยการทะเบียนคนต่างด้าว

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

กรณีแก้ไขรายการในสูติบัตร  และมรณะบัตร ให้ดำเนินการตามข้อ 1 และหากสูติบัตร  หรือมรณะบัตรที่ขอแก้ไขออกให้โดยสำนักทะเบียนอื่น ให้ทำหนังสือแจ้งสำนักทะเบียนนั้นเพื่อแก้ไขเปลี่ยนแปลงคู่ฉบับให้ถูกต้อง ตรงกันด้วย

 

 

 

-  ระเบียบฯ ข้อ 116

7

กรณีแก้ไขรายการในใบแจ้งการย้ายที่อยู่ ถ้าเป็นรายการวันเดือนปีเกิด หรือสัญชาติ ไม่ให้แก้ไขเปลี่ยนแปลงรายการในเอกสารดังกล่าว แต่ให้ใช้วิธียกเลิกเอกสารเดิมแล้วออกเอกสาร  ให้ใหม่

 

 

 

- ระเบียบฯ ข้อ 76

8

กรณีนายทะเบียนพบว่ามีบุคคลในทะเบียนบ้านที่มีอายุครบ 15 ปีบริบูรณ์ ให้แก้ไขรายการคำนำหน้าชื่อบุคคลนั้นในทะเบียนบ้านและสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านจากเด็กชาย  หรือเด็กหญิงเป็นนายหรือนางสาวแล้วแต่กรณี  โดยไม่ต้องใช้แบบ ท..97 ก และไม่ต้องรายงานไปยังศูนย์ประมวลผลข้อมูลภาค

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง การดำเนินการเกี่ยวกับการขอมีบัตร/บัตรใหม่/เปลี่ยนบัตร ประจำตัวประชาชน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

 

 

 

 

 

1

การขอมีบัตร

1. ขอมีบัตรกรณี ขอมีบัตรเป็น

ครั้งแรก (อายุ 15 ปีบริบูรณ์)

(ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

 

ระยะเวลาการให้บริการโดยประมาณ  30 นาที/ราย

1. บัตรประจำตัว

ประชาชนซึ่งได้

ดำเนินการแล้วเสร็จ

ตามระยะเวลาที่กำหนด

2. ความพึงพอใจของประชาชนผู้รับบริการ

พนักงาน

เจ้าหน้าที่ของสำนักทะเบียนท้องถิ่น

เทศบาลหรือเมืองพัทยา

- พร..บัตรประจำตัวประชาชนพ.. 2526

- ...บัตรประจำตัวประชาชน(ฉบับที่ 2)  .. 2542

- ระเบียบกรมการปกครองว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัว      ประชาชน  ..2538

- ระเบียบกรมการปกครองว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัว      ประชาชน  (ฉบับที่ 2) ..2539

- ระเบียบกรมการปกครองว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัว                   ประชาชน (ฉบับที่ 3) ..2540  

- ระเบียบกรมการปกครองว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 4) ..2541

- ระเบียบกรมการปกครองว่าด้วยการจัดทำบัตรประจำตัว       ประชาชน (ฉบับที่ 5) ..2542

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ

..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

(2) แสดงหลักฐานสูติบัตรหรือหลักฐานที่ทางราชการออกให้หรือนำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่

เจ้าพนักงานเจ้าหน้าที่เชื่อถือไปให้การรับรองอย่างใดอย่างหนึ่ง

กรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ร้องขอ

 

 

 

 

2. ขอมีบัตรกรณีบัตรเดิมหมด

อายุ (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

15 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ

..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

(2) แสดงหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชนเดิมที่หมดอายุ

 

 

 

 

 

3. ขอมีบัตรกรณีได้รับการเพิ่มชื่อในทะเบียนบ้าน (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

15 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ

..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

(2) แสดงหลักฐานที่ได้รับการ

เพิ่มชื่อ เช่น สูติบัตร

 

 

 

 

 

(3) ให้ถ้อยคำต่อพนักงาน

เจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(4) นำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่

พนักงานเจ้าหน้าที่เชื่อถือไปให้

การรับรอง

 

 

 

 

 

4. ขอมีบัตรกรณีได้รับการ

ยกเว้น (มีหลักฐานแสดงการได้รับการยกเว้น) (ค่าธรรมเนียม  10 บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ

..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2) แสดงหลักฐานว่าเป็นบุคคล

ได้รับการยกเว้น

 

 

 

 

 

5. ขอมีบัตรกรณีได้รับการ

ยกเว้น    (ไม่มีหลักฐานแสดงการได้รับการยกเว้น)              (ค่าธรรมเนียม  10 บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ

..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2) ให้ถ้อยคำต่อพนักงาน

เจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(3) นำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่พนักงานเจ้าหน้าที่เชื่อถือไปให้

การรับรอง

 

 

 

 

 

6. ขอมีบัตรกรณีพ้นสภาพได้รับการยกเว้น  (ค่าธรรมเนียม  10 บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

15 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ

..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

(2) แสดงหลักฐานที่แสดงว่าพ้นสภาพได้รับการยกเว้น

 

 

 

 

 

7. ขอมีบัตรครั้งแรกเกินกำหนด

เวลา  (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ระยะเวลาการให้บริการโดยประมาณ 30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ บ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

(2) เปรียบเทียบคดีความผิด

 

 

 

 

 

(3) ให้ถ้อยคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(4) แสดงหลักฐานสูติบัตรหรือ

หลักฐานที่ทางราชการออกให้

(ถ้ามี)

 

 

 

 

 

(5) กรณีที่ไม่มีหลักฐานตาม (4)ให้นำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่พนักงานเจ้าหน้าที่เชื่อถือไปให้การรับรอง

 

 

 

 

 

8. ขอมีบัตรกรณีได้สัญชาติไทย ตามพระราชบัญญัติสัญชาติไทย พ..2508 แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) .. 2535 โดยมีบิดาหรือมารดาคนใดคนหนึ่งเป็นคนต่างด้าว(ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ระยะเวลาการให้บริการโดยประมาณ30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1)  ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ บ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2) ให้ถ้อยคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(3) นำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่

พนักงานเจ้าหน้าที่เชื่อถือไป   ให้การรับรอง

 

 

 

 

 

9. ขอมีบัตรกรณีได้สัญชาติไทยโดยมีบิดาและมารดาเป็นคนต่างด้าว (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ระยะเวลาการให้บริการโดยประมาณ 30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ บ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

(2) แสดงหลักฐานใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าวของบิดาและมารดา

 

 

 

 

 

(3) ให้ถ้อยคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(4) นำเจ้าบ้านและกำนัน หรือผู้ใหญ่บ้านไปให้การรับรอง กรณีไม่มีหลักฐานใบสำคัญคนต่างด้าวของบิดาและหรือมารดาหรือมีแต่ไม่สะดวกที่นำมาแสดง

 

 

 

 

 

10. ขอมีบัตรกรณีได้สัญชาติไทยโดยการแปลงสัญชาติเป็นไทยและผู้ได้กลับคืนสัญชาติไทย  (ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1)  ยื่นคำขอมีบัตรตามแบบ

..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2)  แสดงหลักฐานหนังสือสำคัญการแปลงสัญชาติเป็นไทย หรือหนังสือสำคัญการได้กลับคืนสัญชาติไทย

 

 

 

 

 

(3)  ให้ถ้อยคำต่อพนักงาน

เจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

2

การขอมีบัตรใหม่

 

 

 

 

 

1. ขอมีบัตรใหม่กรณีบัตรหาย

(สำนักทะเบียนเดียวกันเป็นผู้ออกบัตร)(ค่าธรรมเนียม 10 บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

15 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) แจ้งความกรณีบัตรหายหรือ

ถูกทำลาย

 

 

 

 

 

(2) ยื่นคำขอมีบัตร ตามแบบ บ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน และหลักฐานตาม (1)

 

 

 

 

 

(3) ให้ถ้อยคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(4) กรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบหลักฐานการขอมีบัตรเดิมไม่พบ ให้นำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่พนักงานเจ้าหน้าที่เชื่อถือไปให้การรับรอง

 

 

 

 

 

(5) แสดงหลักฐานเอกสารที่  ทางราชการออกให้อย่างใดอย่างหนึ่งเพิ่มเติม (ถ้ามี)

 

 

 

 

 

2. ขอมีบัตรใหม่กรณีบัตรหายหรือถูกทำลาย (สำนักทะเบียนอื่นเป็นผู้ออกบัตร)(ค่าธรรมเนียม  10  บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) แจ้งความกรณีบัตรหายหรือถูกทำลาย

 

 

 

 

 

(2) ยื่นคำขอมีบัตร ตามแบบ บ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านและหลักฐานตาม  (1)

 

 

 

 

 

(3) ให้ถ้อยคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(4) นำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่พนักงานเจ้าหน้าที่เชื่อถือไปให้การรับรอง

 

 

 

 

 

(5) แสดงหลักฐานเอกสารที่ทางราชการออกให้อย่างใดอย่างหนึ่งเพิ่มเติม (ถ้ามี)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

การขอเปลี่ยนบัตร

 

 

 

 

 

1. การขอเปลี่ยนบัตรกรณีบัตรชำรุดในสาระสำคัญ (พิสูจน์ตัวบุคคลได้)(ค่าธรรมเนียม  10  บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตร ตามแบบบ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้าน

ฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2) แสดงหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชนเดิม

 

 

 

 

 

2. การขอเปลี่ยนบัตรกรณีบัตรชำรุดในสาระสำคัญ (พิสูจน์ตัวบุคคลไม่ได้) (ค่าธรรมเนียม  10  บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตร ตามแบบ บ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2) แสดงหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชนเดิม

 

 

 

 

 

(3) ให้ถ้อยคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่

 

 

 

 

 

(4) แสดงหลักฐานทางราชการที่มีรูปถ่ายซึ่งสามารถใช้พิสูจน์ตัวบุคคลได้ (ถ้ามี)

 

 

 

 

 

(5) หากไม่มีหลักฐานตามเอกสาร

 

 

 

 

 

3. การขอเปลี่ยนบัตรกรณีเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุล หรือชื่อตัวและชื่อสกุล

(ค่าธรรมเนียม  10  บาท)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำขอมีบัตร ตามแบบ บ..1 พร้อมสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2)  แสดงหลักฐานบัตรประจำตัวประชาชน  และหลักฐานการเปลี่ยนชื่อตัวหรือชื่อสกุล หรือชื่อตัวและชื่อสกุล

 

 

 

 

 

4. การออกใบแทนใบรับ (..2 .)(ค่าธรรมเนียม  10  บาท

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำร้องต่อพนักงาน

เจ้าหน้าที่ที่ทำบัตรไว้ พร้อม

สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2) หลักฐานการแจ้งความใบรับ

(..2) สูญหาย

 

 

 

 

 

5. การติดและรับรองภาพถ่าย

ในใบรับ (..2) หรือใบแทน

ใบรับ (..2 )(ไม่เสียค่าธรรมเนียม)

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

15 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ยื่นคำร้องต่อพนักงาน เจ้าหน้าที่ พร้อมด้วยใบรับคำขอมีบัตร และสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน

 

 

 

 

 

(2) รูปถ่ายขนาด 3 x 4 ซม.จำนวน 2 รูป

 

 

 

 

 

(3) ให้ถ้อยคำต่อพนักงานเจ้าหน้าที่และนำเจ้าบ้านหรือบุคคลที่น่าเชื่อถือไปให้การรับรอง กรณีพนักงานเจ้าหน้าที่ร้องขอ

 

 

 

 

 

6. การขอตรวจหลักฐานหรือคัด

และรับรองสำเนารายการเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชน

(ขอตรวจหลักฐานหรือคัดสำเนา ค่าธรรมเนียม 10 บาท กรณีคัดและรับรองสำเนา ค่าธรรมเนียม  20 บาท)

 

 

 

 

 

1. การขอตรวจหลักฐานหรือคัด

สำเนารายการเกี่ยวกับบัตรที่

ไม่เกี่ยวกับคดีความ

ระยะเวลา

การให้บริการ

โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

1.1 เจ้าของบัตรไปดำเนินการด้วยตนเองให้ยื่นคำร้องพร้อมทั้งระบุหมายเลขคำขอและหรือเลขประจำตัวประชาชน

 

 

 

 

 

1.2 เจ้าของบัตรให้บุคคลอื่นไปดำเนินการแทน

 

 

 

 

 

(1) สำเนาบัตรประจำตัวผู้รับมอบและหรือผู้มอบดำเนินการแทน

 

 

 

 

 

(2) หนังสือมอบอำนาจของเจ้าของบัตรหรือหนังสือขอตรวจสอบหลักฐานจากสำนักทะเบียน หรือสำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้านกรณีเป็นผู้ที่มีชื่ออยู่ในบ้านเดียวกัน

 

 

 

 

 

2. การขอตรวจหลักฐานหรือคัด

สำเนารายการเกี่ยวกับบัตรที่

เกี่ยวกับคดีความ

ระยะเวลาการให้บริการโดยประมาณ30 นาที/ราย

 

 

 

 

2.1 กรณียังไม่ฟ้องเป็น         คดีความ

 

 

 

 

(1) หนังสือขอตรวจสอบ

หลักฐานหรือคัดสำเนาเกี่ยวกับบัตรของผู้เสียหายหรือผู้มีส่วน

ได้เสีย

 

 

 

 

 

(2) หนังสือมอบอำนาจหรือใบแต่งทนายพร้อมด้วย หลักฐานประกอบ เช่น สำเนาตั๋วสัญญาใช้เงินที่ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน หรือสำเนาหลักฐานการแจ้งความ หรือสำเนาหมายจับ หรือสำเนาสัญญา เป็นต้น หากเป็นห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทให้แนบหลักฐานการจดทะเบียนห้างหุ้นส่วนหรือบริษัทด้วย

 

 

 

 

 

(3) สำเนาบัตรประจำตัวของ

ผู้มอบอำนาจหรือผู้แต่งทนาย

 

 

 

 

 

(4) สำเนาบัตรประจำตัว

สมาชิกสภาทนายความ

 

 

 

 

 

สำหรับในกรณีที่ผู้เสียหายไปดำเนินการด้วยตนเอง ให้แนบหลักฐาน

 

 

 

 

 

(1) สำเนาเอกสารที่เกี่ยวข้อง

เช่น สำเนาตั๋วสัญญาใช้เงินที่

ธนาคารปฏิเสธการจ่ายเงิน หรือ

สำเนาหมายจับ หรือสำเนาสัญญา เป็นต้น

 

 

 

 

 

(2) สำเนาบัตรประจำตัวของ

ผู้เสียหาย

 

 

 

 

 

2.2 กรณียื่นฟ้องเป็นคดีความแล้ว

 

 

 

 

 

(1) หนังสือขอตรวจสอบหลักฐานหรือคัดสำเนารายการเกี่ยวกับบัตรจากผู้เสียหาย หรือผู้มีส่วนได้เสีย

 

 

 

 

 

(2) ใบแต่งทนาย (ที่มีเลขคดีแล้ว) หรือสำเนาคำฟ้อง (ที่ศาลประทับฟ้องแล้ว)

 

 

 

 

 

(3) สำเนาบัตรประจำตัวสมาชิกสภาทนายความ สำหรับในกรณีโจทก์หรือจำเลยไปดำเนินการด้วยตนเองให้แนบหลักฐาน

 

 

 

 

 

(1) เอกสารที่เกี่ยวข้องกับ

คดีความ เช่น สำเนาคำฟ้องหรือ

สำเนาหมายจับ เป็นต้น

 

 

 

 

 

(2) สำเนาบัตรประจำตัวของ

โจทก์หรือจำเลย

 

 

 

 

 

3. กรณีผู้ยื่นคำร้องนำหมายจับ

ไปดำเนินการ

ระยะเวลาการให้บริการ     โดยประมาณ

30 นาที/ราย

 

 

 

 

(1) ถ้ามีชื่อในหมายจับให้แนบสำเนาบัตรประจำตัวของผู้ยื่นคำร้อง

 

 

 

 

(2) ถ้าไม่มีชื่อในหมายจับให้แนบใบแต่งทนาย หรือสำเนาคำฟ้อง หรือหนังสือมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตรประจำตัวผู้ยื่นคำร้อง พร้อมสำเนาบัตรประจำตัวโจทก์หรือผู้มอบอำนาจ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Back