แนวทางปฏิบัติราชการ

ด้านการส่งเสริมสนับสนุนองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น

 

เรื่อง  การยกฐานะองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลและการยกฐานะเทศบาลตำบลเป็นเทศบาลเมือง

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

การยกฐานะองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลตำบล

6 เดือน(กรณีมีข้อมูลและเอกสารประกอบครบถ้วน)

พระราชกฤษฎีกาจัดตั้ง………  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

- ส่วนพัฒนาระบบรูปแบบและโครงสร้างโทร.

0-2243-2226ต่อ 109

- ...เทศบาล พ.. 2496

มาตรา 9 , 10  และ มาตรา 12

- หนังสือ  ที่ มท 0313.4/ 4218

ลงวันที่  24  .. 2539

- หนังสือ ที่ มท 0313/ 2966 ลงวันที่  11  .. 2540

- หนังสือ ที่ มท 0313.1/ 2067

ลงวันที่  10  .. 2541

-  หนังสือ  ที่ มท 0313.1/  630

ลงวันที่    22  มี.. 2542

 

 

2

อบต.รายงานการขอยกฐานะ พร้อมทั้งเอกสารที่  เกี่ยวข้อง ซึ่งผ่านความเห็นชอบของอำเภอ และจังหวัด ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นพิจารณา

 

 

 

 

 

3

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นตรวจสอบความถูกต้องแล้วเสนอปลัดกระทรวงมหาดไทยให้  ความเห็นชอบ พร้อมส่ง  ร่างพระราชกฤษฎีกาให้คณะกรรมการพิจารณาร่างกฎหมายฯ  ตรวจพิจารณาและให้ความเห็นชอบ

 

 

 

 

 

 

 

 

4

ส่งร่างพระราช กฤษฎีกาจัดตั้ง ฯ เสนอปลัดกระทรวงมหาดไทย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย พิจารณา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5

ส่งร่างพระราชกฤษฎีกาฯ ที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยเห็นชอบแล้วให้สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีพิจารณาอนุมัติหลักการ แล้วส่งให้คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาตามขั้นตอนการตราพระราชกฤษฎีกา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

คณะกรรมการกฤษฎีกาประชุมพิจารณาร่างฯ โดยเชิญผู้แทนกรมฯ และผู้แทน อบต. เข้าร่วมประชุม

คณะกรรมการกฤษฎีกาพิจารณาเห็นชอบ ร่างฯ แล้ว แจ้งกลับไปยังสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี

 

 

 

 

7

สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรีนำพระราชกฤษฎีกา  จัดตั้ง....ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงลงพระปรมาภิไธย และประกาศในราชกิจจานุเบกษา

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การยกฐานะเทศบาลตำบลเป็นเทศบาลเมืองดำเนินการตามขั้นตอนลำดับที่  1 - 7เช่นเดียวกับกรณี  การยกฐานะ อบต.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  มาตรฐานกำหนดตำแหน่งและการรับรองคุณวุฒิการศึกษา

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง

1 - 2 เดือน

นับจากได้รับแจ้งแล้ว

1. ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง   และผู้ที่สนใจเข้าใจและทราบถึงคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งต่าง ๆ  ตามโครงสร้างการบริหารของท้องถิ่น

2.  มีการบรรจุแต่งตั้งพนักงานท้องถิ่นตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง

ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และผู้ที่สนใจเข้าใจและทราบถึง

คุณวุฒิการศึกษา อันมีส่วนเกี่ยวข้องกับตำแหน่งต่าง ๆ  ตามโครงสร้างการบริหารของท้องถิ่น

- กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

 

- ส่วนมาตรฐานทั่วไปการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น โทร.0-2669-7363 ถึง 64  ต่อ 108

- ...ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น

.. 2542

 

*  เมื่อ ก... , ... หรือ ก.อบต.จังหวัดได้รับแจ้งมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของข้าราชการ อบจ. หรือพนักงานเทศบาลหรือพนักงานส่วนตำบล แล้วแต่กรณีแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้

 

1.1  ศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งต่าง ๆ

 

 

 

1.2 ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและประชาชนที่สนใจได้ทราบ  เพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อ  หรือสมัครงาน

 

 

 

2

การรับรองคุณวุฒิการศึกษาว่าเป็นคุณวุฒิทางใดของ  .. , .. , .. หรือ ก.อบต.

1 - 2 เดือน

นับจากได้รับแจ้งแล้ว

-  กลุ่มส่งเสริมการปกครอง   ท้องถิ่นจังหวัด

 

-  ส่วนมาตรฐานทั่วไปการบริหารงานบุคคลท้องถิ่น       โทร.0-2669-7363 ถึง 64  ต่อ 108

- ...ระเบียบบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่นพ.. 2542

 

*  เมื่อ ก... , ... หรือ ก.อบต.จังหวัดได้รับแจ้งการรับรองคุณวุฒิแล้ว ให้ดำเนินการ ดังนี้

 

 

2.1  ศึกษาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับ   คุณวุฒิการศึกษานั้นว่าเป็นทางใด

 

 

 

 

2.2  ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและ  ผู้ที่สนใจได้ทราบ  เพื่อประโยชน์ในการศึกษาต่อและสมัครงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การบริหารงานบุคคลทางการศึกษาท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

การวางแผนอัตราวิเคราะห์อัตรากำลัง การขออัตรา  และการจัดสรรอัตรากำลัง การตรวจสอบและบริหารจัดการอัตรากำลังบุคคลทางการศึกษาท้องถิ่นที่รับเงินเดือนจากเงินอุดหนุนของรัฐให้มีความเหมาะสมต่อการ   จัดการเรียนการสอนและเป็นไปตามมาตรฐานทั่วไปและหลักเกณฑ์ที่

.. กำหนด รวมทั้งการให้คำปรึกษา แนะนำ ชี้แจง ตอบข้อหารือเกี่ยวกับอัตรากำลังบุคคลทางการศึกษาท้องถิ่น

ตลอดปี

สามารถจัดอัตรากำลังคนได้ตรงตามปริมาณงาน

- ส่วนบริหารงานบุคคลทางการศึกษา ท้องถิ่น โทร.0-2241-9055

-  ฝ่ายอัตรากำลัง

- งานมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับอัตราตำแหน่ง

1. ...ระเบียบบริหาร     งานบุคคลส่วนท้องถิ่น    ..2542

2. ...ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ..2535

3. ...ข้าราชการครู พ.. 2523

4. มาตรฐานทั่วไปของ ก..

5. ระเบียบ ก..ว่าด้วยการแก้ไข  วัน เดือน ปีเกิด

6. ...บำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

2

จัดทำระบบข้อมูลและทะเบียนประวัติบุคคลทางการศึกษา จัดทำปรับปรุงและสนับสนุนระบบข้อมูลและทะเบียนประวัติบุคคลทางการศึกษาท้องถิ่น

ตลอดปี

ถูกต้องเป็นปัจจุบันทำให้การบริหารงานบุคคลมีประสิทธิภาพ

- งานระบบข้อมูลและทะเบียนประวัติบุคคลทางการศึกษา

 

 

 

 

 

 

 

3

การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญจักรพรรดิมาลา   ประสานการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ การขอประกาศเกียรติคุณสวัสดิการและสิทธิประโยชน์เกื้อกูลต่าง ๆ ของบุคคลทางการศึกษาท้องถิ่น ดังนี้

..- มิ..

ดำเนินการขอพระราชทานให้ผู้มีสิทธิแต่ละคนได้ตามสิทธิ

- งานเครื่องราชอิสริยาภรณ์

สวัสดิการและประโยชน์

ตอบแทนอื่น

-ระเบียบสำนักนายกฯ

ว่าด้วยการขอพระราชทาน

เครื่องราชอิสริยาภรณ์

..2536

-...เหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลาพ..2484 แก้ไขเพิ่มเติม

(ฉบับที่ 2) ..2485

(ฉบับที่ 3) ..2507

 

 

 

 

 

 

1.1 ปฏิบัติตามแนวทางและกำหนดระยะเวลาในหนังสือสั่งการ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.2 ตรวจสอบและกลั่นกรองผู้พึงได้รับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์และเหรียญจักรพรรดิมาลาให้อยู่ในหลักเกณฑ์และคุณสมบัติที่จะเสนอขอพระราชทานฯ ตามระเบียบฯโดยเคร่งครัด

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1.3 รวบรวมรายชื่อผู้มีคุณสมบัติและอยู่ในหลักเกณฑ์สมควรได้รับการเสนอขอพระราชทานฯ โดยจัดพิมพ์ลงในแบบบัญชีที่กำหนดส่งไปยังกรมส่งเสริมการปกครอง ท้องถิ่น เพื่อดำเนินการตามขั้นตอน และจัดส่งไปยังกระทรวงมหาดไทย ดำเนินการต่อไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4

กำกับ ดูแล แนะนำ ชี้แจง การบริหารงานบุคคลของพนักงานครูเทศบาลให้เป็นไปตามมาตรฐานทั่วไปของ ก..

 

การบริหารงานบุคคลของ ก...และเทศบาลมีประสิทธิภาพประสิทธิผล

- ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา

-งานส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา โทร.0-2241-9055

1. ...ระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่นพ..2542

2. มาตรฐานทั่วไปและ ประกาศหลักเกณฑ์ของ ก..

 

1. จังหวัดและเทศบาลรายงาน

การเปลี่ยนแปลงประวัติพนักงานครูเทศบาลมายังสำนักงาน ก..

 

 

 

 

 

2. กรณีให้เป็นไปตามมาตรฐาน

ทั่วไปของ ก.. จะแจ้งให้จังหวัด

และเทศบาลทราบและแก้ไขให้ถูกต้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5

ให้คำแนะนำปรึกษาตอบข้อหารือ

ในการบริหารงานบุคคลของพนักงานครูเทศบาล

 

การบริหารงานบุคคลของ ก...และเทศบาลมีประสิทธิภาพประสิทธิผล

- ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา

-งานส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา โทร.0-2241-9055

1. ...ระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่นพ..2542

2. มาตรฐานทั่วไปและ ประกาศหลักเกณฑ์ของ ก..

 

1. จังหวัดและเทศบาลหารือใน

เรื่องการบริหารงานบุคคลพนักงานครูเทศบาลมายังสำนักงาน ก..

 

 

2. กรณีที่เป็นเรื่องกำหนดไว้

ชัดเจนในมาตรฐานทั่วไปแล้วให้

ฝ่ายเลขาฯ ก.. แจ้งตอบไป

 

 

 

 

3. กรณีเป็นปัญหาในการตีความ

ของมาตรฐานทั่วไปเสนอให้

.. พิจารณาแล้ว ฝ่ายเลขาฯ ก..

แจ้งต่อไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

ปรับปรุงมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับ

การบริหารงานบุคคลของพนักงาน

ครูเทศบาล

ตลอดปี

การบริหารงานบุคคลของ ก...และเทศบาลมี

ประสิทธิภาพประสิทธิผล

- ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา

-งานส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา โทร.0-2241-9055

1. ...ระเบียบบริหารงาน บุคคลส่วนท้องถิ่นพ..2542

2. มาตรฐานทั่วไปและ ประกาศหลักเกณฑ์ของ ก..

 

1. จังหวัดและเทศบาลมีปัญหา

ในทางปฏิบัติไม่สามารถดำเนินการบริหารงานบุคคลได้จึงเสนอให้ ก..พิจารณา

 

 

2. ..พิจารณาเห็นชอบให้

ปรับปรุงมาตรฐานทั่วไปแจ้งให้ 

จังหวัดและเทศบาลถือปฏิบัติ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

7

กำกับดูแล ส่งเสริม สนับสนุนการบริหารงานบุคตลของพนักงานครู

เทศบาลให้เป็นไปตามมาตรฐานทั่วไปของ ก.

ตลอดปี

การบริหารงานบุคคลของ ก...มีประสิทธิภาพประสิทธิผล

- ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา

-งานส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา โทร.0-2241-9055

1. ...ระเบียบบริหารงาน   บุคคลส่วนท้องถิ่น พ.. 2542

 2. ...ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.. 2535

3. ...ข้าราชการครูพ..2523 แก้ไขเพิ่มเติม พ.. 2535

4. มาตรฐานทั่วไปและประกาศหลักเกณฑ์ของ ก..

 

 

 

 

 

 

8

ให้คำแนะนำปรึกษา  แนะนำ ตอบข้อหารือในการบริหารงานบุคคลของพนักงานครูเทศบาลกับ ก...และเทศบาล

ตลอดปี

การบริหารงานบุคคลของ ก...มีประสิทธิภาพประสิทธิผล

- ฝ่ายส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา

-งานส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษา โทร.0-2241-9055

 

 

 

 

 

 

 

9

ปรับปรุงมาตรฐานทั่วไปเกี่ยวกับการบริหารงานบุคคลของพนักงานครูเทศบาลในกรณีที่มีปัญหาในทางปฏิบัติของ ก... และเทศบาลหรือกรณีมีการแก้ไขระเบียบกฎหมายของข้าราชการครูใหม่ โดยนำเสนอ ก..แก้ไข

ตลอดปี

การบริหารงานบุคคลของ ก...มีประสิทธิภาพประสิทธิผล

- งานส่งเสริมและสนับสนุนการบริหารงานบุคคลทางการศึกษาโทร.0-2241-9055

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้แก่สมาชิกสภาท้องถิ่น

ผู้บริหารท้องถิ่น  ข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ได้รับการแจ้งแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำปีจากกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นแล้วให้ดำเนินการ ดังนี้

มกราคม -มีนาคม

จำนวนและรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามสิทธิ

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย พ.. 2536

 

1.1  ปฏิบัติตามแนวทางและกำหนดระยะเวลาในหนังสือสั่งการตามข้อ1

 

 

 

 

 

1.2  ตรวจสอบและกลั่นกรองผู้พึงได้รับการพิจารณาเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ให้อยู่ในหลักเกณฑ์และคุณสมบัติที่จะเสนอขอพระราชทาน ฯ ตามระเบียบ ฯ โดยเคร่งครัด

 

 

ส่วนส่งเสริมการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น โทร.0-2241-9052

 

 

1.3  รวบรวมรายชื่อผู้มีคุณสมบัติและอยู่ในหลักเกณฑ์สมควรได้รับการเสนอขอพระราชทาน ฯ โดยจัดพิมพ์ลงในแบบบัญชีที่กำหนดส่งไปยังกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น เพื่อดำเนินการตามขั้นตอนและจัดส่งไปยังกระทรวงมหาดไทยต่อไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น

 

เรื่อง   การดำเนินการเบิกจ่ายเงินบำเหน็จบำนาญของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ลูกจ้างประจำตำแหน่ง

ภารโรงโรงเรียน เงินช่วยเหลือพิเศษของผู้รับบำนาญตำแหน่งครู การขออนุมัติโอนเงินสมทบ ก...

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

เบิกจ่ายเงินช่วยค่าครองชีพผู้รับบำนาญ (...) ประจำเดือน ของข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้รับบำนาญ ตำแหน่งครู ส่วนจังหวัด และพนักงานครูเทศบาล โดยเบิกจากคลังจังหวัด/คลังอำเภอ

รายงาน

ภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป

สามารถขออนุมัติเงินประจำงวด

ได้ภายในกำหนด

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

-  ส่วนบำเหน็จบำนาญและสวัสดิการ โทร. 0-2241-9031

1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย เงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.. 2536 ข้อ 30

2. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0502/64974 ลงวันที่ 19 .. 2526

 

 

 

 

 

 

2

เบิกจ่ายเงินช่วยเหลือพิเศษ เงินช่วยค่าครองชีพผู้รับบำนาญ (ถ้ามี) 3 เดือน กรณีข้าราชการส่วนท้องถิ่นผู้รับบำนาญ ตำแหน่งครูส่วนจังหวัด และพนักงานครูเทศบาล ถึงแก่กรรม โดยเบิกจากคลังจังหวัด/คลังอำเภอ

รายงานภายในวันที่ 10 ของเดือนถัดไป

สามารถขออนุมัติเงินประจำงวดได้ภายในกำหนด

 

1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยบำเหน็จบำนาญฯ ส่วนท้องถิ่น พ.. 2536ข้อ 30

2. หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค 0502/122 ลงวันที่ 10 .. 2537

 

 

 

 

 

 

3

การขอเปลี่ยนแปลงสถานที่รับบำนาญของข้าราชการส่วนท้องถิ่น ผู้รับบำนาญส่ง ก...

 

ผู้รับบำนาญได้รับความสะดวก

 

1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.. 2536 ข้อ 38

 

 

 

 

 

 

4

การขอโอนเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่นไปเพิ่ม กรณีที่ราชการส่วนท้องถิ่นมีเงินงบประมาณสมทบ ก... ไม่พอจ่ายตลอดปี หรือมีรายจ่ายเกิดขึ้นใหม่ หลังจากที่ได้ส่งสมทบ... แล้ว

เมื่อราชการส่วนท้องถิ่นมีเงินไม่พอจ่าย

ทำให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีเงินจ่ายเป็นบำเหน็จบำนาญและเงินเพิ่มจากเงิน

บำนาญปกติตลอดปี

 

1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย

เงินบำเหน็จบำนาญ

ข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.. 2536 ข้อ 8

วรรคสอง

 

 

 

 

 

 

5

ตรวจสอบหลักฐานการคำนวณเงินบำเหน็จบำนาญของข้าราชการส่วนจังหวัด พนักงานเทศบาลสามัญ พนักงานครูเทศบาล และพนักงานส่วนตำบล และออกคำสั่งจ่ายเงินบำเหน็จ บำนาญ ส่ง ก...

- สิทธิในการขอบำเหน็จบำนาญมีอายุความ 3 ปี

- นำเสนอ ผวจ. ภายใน 15 วัน นับแต่วันรับเรื่อง

- ผวจ. พิจารณาสั่งจ่ายภายใน 21 วัน นับแต่วันรับเรื่อง

ผู้รับบำเหน็จบำนาญจะได้รับเงินในเวลาที่รวดเร็ว กรณีที่เป็นพนักงานครูเทศบาลสามารถขอเงินอุดหนุนหรือเงินงบกลางจากสำนักงบประมาณเมื่อเงินไม่พอจ่าย

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

- ส่วนบำเหน็จบำนาญ

และสวัสดิการ

โทร. 0-2241-9031

1. ... บำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.. 2500และที่แก้ไขเพิ่มเติมถึงฉบับที่ 6 .2543

2. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยเงินบำเหน็จบำนาญฯ.. 2536 ข้อ 24, ข้อ 25

 

 

 

 

 

 

6

ตรวจสอบหลักฐานการคำนวณเงิน

ทดแทน ของพนักงานวิสามัญ และออกคำสั่งจ่ายเงินทดแทน ส่ง ก...

สิทธิในการขอรับเงินทดแทนมีอายุความ 3 ปี

ข้าราชการส่วนท้องถิ่นวิสามัญประจำการได้รับเงินทดแทน

 

1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วย

การจ่ายเงินทดแทนแก่ข้าราชการส่วนท้องถิ่นวิสามัญประจำการที่ออกจากราชการ พ.. 2509

 

 

 

 

 

 

7

ตรวจสอบหลักฐานการคำนวณเงินบำเหน็จปกติของลูกจ้างประจำตำแหน่งภารโรงโรงเรียน ส่ง ก...

ผู้มีสิทธิยื่นเรื่องขอรับบำเหน็จปกติภายใน 90 วันนับแต่วันพ้นจากงาน

ลูกจ้างประจำหรือทายาทจะได้รับเงินบำเหน็จปกติ

 

1. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยบำเหน็จลูกจ้างของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น พ.. 2542 (และที่แก้ไขเพิ่มเติม)

 

 

 

 

 

 

8

ส่งเงินสมทบกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น เทศบาลและเมืองพัทยา อัตราร้อยละสอง องค์การบริหารส่วนจังหวัด และองค์การบริหารส่วนตำบล อัตราร้อยละหนึ่ง ของงบประมาณรายได้ประจำปี  (ไม่รวมรายได้จากพันธบัตร เงินกู้  เงินที่มีผู้อุทิศให้ หรือเงินอุดหนุน)  ให้สำนักงานกองทุนฯ ภายในเดือนธันวาคมของปีงบประมาณ

ภายในเดือนธันวาคมของปีงบประมาณ

สามารถนำเงินไปจ่ายเป็นบำเหน็จบำนาญ และเงินเพิ่มจากเงินบำนาญปกติ ให้แก่ข้าราชการส่วนท้องถิ่น

 

1. พระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.. 2500 และที่แก้ไขเพิ่มเติม

2. กฎกระทรวง (ฉบับที่ 4) .. 2542 ออกตามความในพระราชบัญญัติบำเหน็จบำนาญ

ข้าราชการส่วนท้องถิ่น พ.. 2500

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น

 

เรื่อง  การฝึกอบรมผู้บริหาร พนักงาน   และลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

การฝึกอบรมผู้บริหาร พนักงาน ลูกจ้างขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ตลอดจนข้าราชการ ลูกจ้าง กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พร้อมทั้งการจัดทำคู่มือการฝึกอบรมโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ

 -  พัฒนาศักยภาพของผู้บริหาร ข้าราชการ และลูกจ้างของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ให้มีความสามารถในการส่งเสริมสนับสนุน ประสาน และกำกับดูแลการดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงสุด

-  พัฒนาบุคลากรขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งประกอบด้วยผู้บริหารที่มาจากการเลือกตั้ง ข้าราชการ และพนักงานส่วนท้องถิ่น ให้มีศักยภาพในการบริหารและจัดการองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อให้เกิดประสิทธิผลสูงสุดแก่ท้องถิ่น ตามอำนาจหน้าที่ที่กฎหมายกำหนด

-  ติดตามประเมินผลการฝึกอบรมตามหลักสูตรและสถาบันต่างๆ เพื่อให้เป็นไปตามมาตรฐานที่คณะกรรมการกลางข้าราชาการและพนักงานส่วนท้องถิ่นกำหนด-  รวบรวมวิเคราะห์และประเมินผลข้อมูลในการฝึกอบรมเพื่อนำไปพัฒนาหลักสูตรให้เหมาะสมยิ่งขึ้น

-  จัดทำรายงานผลการประเมินในการฝึกอบรมเสนอต่อคณะกรรมการกลางข้าราชการและพนักงานส่วนท้องถิ่น

เป็นไปตามแผนปฏิบัติการ

- ความพึงพอใจของผู้เข้ารับการ

อบรม ซึ่งจะส่งผลต่อการให้บริการประชาชนใน

ภาพรวม

- สถาบันพัฒนาบุคลากรท้องถิ่น

โทร.0-2241-9051 ถึง 3

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น

 

เรื่อง   การจัดสรรเงินภาษีอากรให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

การจัดสรรเงินภาษี ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

 

-  จังหวัดจัดสรร

 

 

 

 

1

ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กำหนดหลักเกณฑ์เรื่องการจัดสรรภาษีประเภท  ต่าง ๆ

จัดสรรเป็นรายเดือนสำหรับภาษี

1. ค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน

2. ภาษีธุรกิจเฉพาะ

1. จังหวัดสามารถจัดสรรเงินได้ตรงระยะเวลาที่ประกาศกำหนดเป็นรายเดือน

2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับเงินจากการจัดสรรและสามารถตรวจสอบ ยอดเงินจัดสรรของตนเองตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศ ฯ

3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถนำเงินที่ได้รับจัดสรรไปบริหารงานได้อย่าง รวดเร็วต่อเนื่องได้ทันในปีงบประมาณ ได้แก่

1)อบจ.  75  แห่ง

2)เทศบาล  1,129 แห่ง

3)เมืองพัทยา  1  แห่ง

4)อบต.  6,744 แห่ง

- กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดทุกจังหวัด

- ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นเรื่อง

- การจัดสรรเงินภาษี  และค่าธรรมเนียม รถยนต์ และล้อเลื่อน

- การจัดสรรเงินภาษีธุรกิจเฉพาะ

 

 

 

 

 

2

จังหวัดประสานกับขนส่งจังหวัด, สรรพากรจังหวัด  หรือ คลังจังหวัด ขอยอดเงินภาษีที่จัดเก็บได้ในแต่ละเดือนแล้ว  จัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดในประกาศ คณะกรรมการการกระจายอำนาจ ประกอบด้วย ภาษีและค่าธรรมเนียมรถยนต์และล้อเลื่อน   ภาษีธุรกิจเฉพาะ

 

- ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้

กลุ่มพัฒนารายได้  โทร 0-2241-9042

 

 

 

 

 

 

 

3

รายงานผลการจัดสรรโดยสำเนาการจัดสรรเงินส่งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  1  ชุด

ทุกครั้งที่จัดสรร

-  ส่งตามกำหนดทุกครั้งเพื่อเป็นข้อมูลส่วนกลาง  ในการรวบรวมสถิติ

- กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดทุกจังหวัด

 

 

 

 

 

 

 

 

-  มท.จัดสรร

 

 

 

 

1

ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่นกำหนด หลักเกณฑ์เรื่องการจัดสรรภาษีประเภทต่าง ๆ

1. จัดสรรเป็นรายเดือนสำหรับภาษี

1)  ภาษีมูลค่าเพิ่ม รหัส 913

2)  ภาษีสุรา

3)  ภาษีสรรพ-สามิต

2. จัดสรรเป็นราย  2 เดือน คือ ภาษีมูลค่าเพิ่ม รหัส 921

3. จัดสรรเป็นราย  4 เดือน คือเงินรายได้ที่เก็บตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ รหัส 920

1. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับการจัดสรรตามกำหนดในประกาศ

2. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตรวจสอบการจัดสรรตามหลักเกณฑ์ได้

3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นำเงินไปบริหารงานได้ทันในปีงบประมาณ (ตามงวดที่กำหนด ในประกาศ) ได้แก่

1)  อบจ.    75  แห่ง

2)  เทศบาล 1,129 แห่ง

3)  เมืองพัทยา 1  แห่ง

4)  อบต.  6,744 แห่ง

5)  กทม.       1 แห่ง

- กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดทุกจังหวัด

-  ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้  (กลุ่มพัฒนารายได้ )  โทร 0-2241-9042

- ประกาศคณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเรื่อง

  -  การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่ม (1 ใน 9 ประมวลรัษฎากร)

  -  การจัดสรรภาษีมูลค่าเพิ่มตาม (...แผน ฯ)

  -  การจัดสรรภาษีสุรา  และสรรพสามิต

  -  กฎกระทรวง ฉบับที่ 3 (..2541) ออกตามความในพระราชบัญญัติสภาตำบล  และองค์การบริหารส่วนตำบล พ.. 2537

2

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นประสานกับกรมบัญชีกลาง เพื่อขอยอดเงินในบัญชีมาจัดสรรให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ดังนี้

-  บัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม   รหัส  913

-  บัญชีภาษีมูลค่าเพิ่ม   รหัส  921

-  บัญชีภาษีสุรา  รหัส 902

-  บัญชีภาษีสรรพสามิต 

รหัส  903

-  บัญชีเงินรายได้ที่เก็บตามกฎหมายว่าด้วยอุทยานแห่งชาติ  รหัส  920

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

- การสำรวจข้อมูลจำนวนประชากร แต่ละองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

1

ให้รายงานจำนวนประชากรเมื่อสิ้นวันที่ 30 กันยายน ของทุกปี

.. – ..

1.  รายงานภายในกำหนด

2.  จังหวัดรวบรวมตรวจสอบความถูกต้อง แจ้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแก้ไข

3.  รวบรวมส่งกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นตามกำหนด

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง

- กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดทุกจังหวัด 

- ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้โทร 0-2241-9042

 

2

จังหวัดตั้งคณะกรรมการตรวจสอบ (โดยเฉพาะองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ที่รายงานข้อมูล ประชากรผิดปกติไปจากปีที่ผ่านมา)

.. – ..

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การจัดเก็บรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

คัดลอกบัญชีลูกหนี้ หรือ ก..1 ผู้ที่อยู่ในเกณฑ์เสียภาษีในปีงบประมาณจัดเก็บ จาก ผ..5

..-..

ผู้อยู่ในข่ายครบทุกรายที่เคยเสียภาษี

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกแห่ง

- ระเบียบ มท.ว่าด้วยการจัดทำแผนที่ภาษีฯ พ..2537

 

 

 

 

 

 

2

ประชาสัมพันธ์เรื่องการเสียภาษี

..

จัดทำป้ายประชาสัมพันธ์ เอกสาร แผ่นปลิว

- ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้

 

 

 

 

 

 

 

3

สำรวจ , เตรียมแบบพิมพ์ต่างๆ

..

จำนวนแบบพิมพ์พร้อมบริการ

โทร .0-2241-9042     

 

 

 

 

 

 

 

4

ออกหนังสือเวียนแจ้งผู้เสียภาษีให้ทราบล่วงหน้า

..

แจ้งผู้อยู่ในข่าย

เสียภาษีครบทุกราย

 

 

 

 

 

 

 

 

5

รับแบบเสียภาษี

(ลงทะเบียนเลขที่รับ) , ตรวจสอบความถูกต้อง

.. – .. หรือ มี..

จำนวนผู้ยื่นแบบ

ภายในกำหนด

 

...ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ..2475

...ภาษีบำรุงท้องที่ พ..2508

...ภาษีป้าย พ..2510

 

 

 

 

 

 

6

ประเมินค่ารายปี / แจ้งผลการประเมิน / รับชำระภาษี

.. – ..

จำนวนการแจ้งประเมินภาษีโดยมิชักช้าเป็นธรรม จำนวนผู้ชำระภาษีตามกำหนด และไม่มีการร้องเรียน

 

 

 

 

 

 

 

 

7

ประเมินค่ารายปี และแจ้งผลการประเมินตามแบบที่กำหนด (ลงทะเบียนตอบรับ)

มี..-..

การประเมินด้วยความถูกต้องและเป็นธรรมและแจ้งการประเมินทุกราย

 

 

8

รับคำร้องอุทธรณ์ตามแบบที่กำหนด / พิจารณาคำร้อง / แจ้งผลการชี้ขาด / รับชำระภาษี

..-..

จำนวนอุธรณ์ /ค้างการพิจารณาอุธรณ์ไม่มีหรือมีน้อย

 

...ภาษีโรงเรือนและที่ดิน พ..2475

 

 

 

 

 

 

9

ออกหนังสือแจ้งเตือนกรณีผู้ไม่ยื่นแบบเสียภาษีภายในกำหนด

มี..- ..

จำนวนผู้ยื่นแบบเสียภาษีมีน้อย

 

 

 

 

 

 

 

 

10

ตรวจสอบบัญชีผู้ค้างชำระภาษี / เร่งรัดการชำระภาษี กรณีผู้เสียภาษีชำระเกินกำหนดเวลา (คิดเงินเพิ่ม)

 

จำนวนผู้ชำระภาษีในกำหนด

 

 

 

 

 

 

 

 

11

มีหนังสือแจ้งเตือนกรณีผู้ไม่มาชำระภาษีภายในกำหนด (3 ครั้ง)

มิ..-..

จำนวนผู้ถูกเตือนมีน้อย

 

 

 

 

 

 

 

 

12

บันทึกเสนอผู้บริหารเพื่อบังคับภาษี (ยึด อายัด หรือดำเนินคดีแก่ผู้ค้าชำระภาษีภายในกำหนด)(ส่งเรื่องให้นิติกร)

.. – ..

จำนวนผู้ถูกบังคับภาษีมีน้อย

 

 

 

 

 

 

 

 

13

การจัดสถานที่บริการผู้เสียภาษีแบบเบ็ดเสร็จ นำระบบ IT มาใช้บริการอย่างรวดเร็ว

.. – ..

ประชาชนได้รับความสะดวก รวดเร็ว และถูกต้อง

 

 

 

 

 

 

 

 

14

ให้ความรู้ ความเข้าใจเรื่องภาษีท้องถิ่นแก่ประชาชนทุกครั้งที่มีการประชุมชุมชนต่างๆ อย่างสม่ำเสมอ

.. – ..

ประชาชนมีความรู้ความเข้าใจและเสียภาษี ไม่มีลูกหนี้ค้างชำระ

 

 

 

 

 

 

 

 

15

ตั้งคณะกรรมการกลั่นกรองการประเมินค่ารายปี และคณะกรรมการพิจารณาคำร้องขอให้พิจารณาการประเมินใหม่

.. – ..

มีผู้ทรงคุณวุฒิจากประชาชนเข้าร่วมโปร่งใสและเป็นธรรม หลักเกณฑ์เป็นที่ยอมรับ

 

 

 

 

 

 

 

 

16

การปรับปรุงข้อมูลแผนที่ภาษีและทะเบียนทรพัย์สินให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันอยู่เสมอ

.. – ..

การจัดเก็บถูกต้องและเป็นธรรม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  งบประมาณด้านการศึกษา เงินอุดหนุนทั่วไป

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

งบประมาณด้านการศึกษาอุดหนุนให้แก่  เทศบาลที่จัดการศึกษา  และมีโรงเรียน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ขั้นตอนการปฏิบัติ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1

สำนักงบประมาณจะจัดสรรงบประมาณรายจ่ายในจำนวนไม่เกินร้อยละ  50 ของ วงเงินงบประมาณแต่ละรายการ

.. –.

ใบอนุมัติเงินประจำงวด(แบบ ง.231) ที่สำนักงบประมาณ  ส่งให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

สำนักงบประมาณ

 

 

 

 

 

 

 

2

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจะดำเนินการโอนเงินงบประมาณดังกล่าวไปตั้งจ่าย ณ สำนักงานคลังจังหวัดในภูมิภาค

..

ใบอนุมัติเปลี่ยนแปลงเงินประจำงวด (แบบ ง.241) ที่กรมส่งเสริมฯ ส่งให้จังหวัดเพื่อแจ้งท้องถิ่น

- สำนักบริหารงานคลังท้องถิ่น ฝ่ายบริหารงบประมาณทางการศึกษา     โทร. 0-2241-9042

 

 

 

 

 

 

3

หน่วยงานในภูมิภาคจะเบิกเงินงบประมาณดังกล่าวจากสำนักงานคลังจังหวัด โดยเบิกผลักหักส่งเข้าบัญชีเงินฝากขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

.. – ..

รายงานของจังหวัดที่ส่งให้กรมส่งเสริมฯ เพื่อให้ทราบผลการเบิกจ่ายเงินงบประมาณดังกล่าว

 

 

 

 

 

 

 

4

องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตามวัตถุประสงค์ของงบประมาณและเบิกจ่ายให้แก่ผู้รับจ้างต่อไป

.. – มี..

การจัดซื้อจัดจ้างที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตามระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุฯ

 

 

5

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรายงานผลการดำเนินการให้จังหวัด  และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ

ทุกเดือน

รายงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นส่งให้จังหวัดเพื่อรายงาน     กรมส่งเสริมฯ ต่อไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  งบประมาณด้านการศึกษา เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

งบประมาณด้านการศึกษาอุดหนุนให้แก่  เทศบาลที่จัดการศึกษา  และมีโรงเรียน

 

ขั้นตอนการปฏิบัติ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

1

สำนักงบประมาณจะจัดสรรงบประมาณค่าครุภัณฑ์และสิ่งก่อสร้าง  100% ของ วงเงินงบประมาณแต่ละรายการ

.. –..

ใบอนุมัติเงินประจำงวด(แบบ ง.231) ที่สำนักงบประมาณ  ส่งให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

สำนักงบประมาณ

 

 

 

 

 

 

 

2

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจะดำเนินการโอนเงินงบประมาณดังกล่าวไปตั้งจ่าย ณ สำนักงานคลังจังหวัดในภูมิภาค

..

ใบอนุมัติเปลี่ยนแปลงเงินประจำงวด (แบบ ง.241) ที่กรมส่งเสริมฯ ส่งให้จังหวัดเพื่อแจ้งท้องถิ่น

- สำนักบริหารงานคลังท้องถิ่น ฝ่ายบริหารงบประมาณทางการศึกษา     โทร.     0-2241-9042

 

 

 

 

 

 

 

3

หน่วยงานในภูมิภาคจะแจ้งงบประมาณดังกล่าวให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทราบรายละเอียดวงเงิน

.. – ..

รายงานของจังหวัดที่ส่งให้กรมส่งเสริมฯ เพื่อให้ทราบผลการดำเนินการ

 

 

 

 

 

 

 

 

4

องค์ปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการจัดหาพัสดุตามวัตถุประสงค์ของงบประมาณและก่อหนี้ผูกพันให้ทันภายในไตรมาสที่ 2

.. – มี..

การจัดซื้อจัดจ้างที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินการตามระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุฯ

 

 

5

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขอเบิกเงินจากจังหวัด  เพื่อจ่ายเงินให้แก่ผู้รับจ้างหรือผู้ขาย ตามวัตถุประสงค์ของงานเมื่องานแล้วเสร็จ

มี.. – ..

รายงานของจังหวัดที่ส่งให้กรมส่งเสริมฯ เพื่อให้ทราบผลการดำเนินการ

 

 

 

 

 

 

 

 

6

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรายงานผลการดำเนินการให้จังหวัด  และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ

ทุกเดือน

รายงานของท้องถิ่นที่ส่งให้จังหวัดเพื่อรายงานกรมส่งเสริมฯ ต่อไป

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การดำเนินการ การขอกู้เงิน ก...

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

หลักเกณฑ์การขอกู้เงิน จะต้องเป็น

โครงการที่เทศบาลมีอำนาจหน้าที่ดำเนินการตามกฎหมาย

ดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบ 

เพื่อส่งเสริมคุณภาพ

ชีวิตของประชาชน

ให้ดีขึ้น และปรับ-

ปรุงสภาพแวดล้อม

ให้เป็นเมืองน่าอยู่

 

-  ส่วนพัฒนาระบบ

งบประมาณและบัญชีกลุ่มงานพัฒนาระบบบัญชี

โทร 0-2241-9044

 

- ระเบียบ มท. ว่าด้วยเงินทุนส่งเสริมกิจการเทศบาล พ.ศ. 2518 รวมถึงแก้ไข ถึง พ.ศ. 2542

 

 

 

 

 

 

2

สภาเทศบาลให้ความเห็นชอบ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

อำเภอ/จังหวัด ให้ความเห็นชอบ

การประชุมพิจารณาของคณะ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4

อนุกรรมการ อ... วงเงินกู้ไม่เกิน 5  ล้านบาท

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

5

การประชุมพิจารณาของคณะกรรมการ ก... วงเงินกู้เกิน 5  ล้านบาท

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

6

แจ้งผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมการ อ... หรือ คณะกรรมการ ก... แล้วแต่กรณี

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

7

เทศบาลดำเนินการตามระเบียบ มท. ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

8

จัดทำสัญญาการกู้กับสำนักงาน

...

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

9

การรับเงินกู้

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การดำเนินการ การขอกู้เงิน  กสอ.

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

หลักเกณฑ์การขอกู้เงินจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการขอกู้เงินทุนสะสมขององค์การบริหารส่วนจังหวัด พ.. 2541

ดำเนินการตามขั้นตอนของระเบียบ

- เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของประชาชนให้ดีขึ้น และปรับสภาพแวดล้อมให้เป็นเมืองน่าอยู่

- ส่วนพัฒนาระบบงบประมาณและบัญชี สำนักบริหารการคลังท้องถิ่น(กลุ่มพัฒนาระบบงบประมาณ) โทร. 0-2241-9049

- ระเบียบ มท .

ว่าด้วยเงินทุนสะสมขององค์การบริหารส่วนจังหวัด

.. 2541

 

 

 

 

 

 

2

สภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดให้ความเห็นชอบ

 

- การแก้ไขปัญหาของประชาชนเป็นส่วนรวม

 

 

 

 

 

 

 

 

3

จังหวัดให้ความเห็นชอบ

 

- การแก้ไขปัญหาด้านเศรษฐกิจของประชาชน

 

 

4

การประชุมพิจารณาของคณะอนุกรรมการ กสอ.  และมีอำนาจอนุมัติวงเงินกู้ ไม่เกิน 10 ล้านบาท

 

- องค์การบริหารส่วนจังหวัดมีงบประมาณ

 

 

 

 

 

 

 

 

5

การประชุมพิจารณาของคณะกรรมการ กสอ.  วงเงินกู้ เกิน 10 ล้านบาท

 

เพื่อการลงทุนและให้ได้รับผลตอบแทนที่คุ้มค่า

 

 

 

 

 

 

 

 

6

แจ้งผลการพิจารณาของคณะอนุกรรมการ อสอ. หรือ คณะกรรมการ กสอ. แล้วแต่กรณี

 

- ประชาชนได้รับบริการด้านสาธารณูปโภคสาธารณูปการ

 

 

 

 

 

 

 

 

7

องค์การบริหารส่วนจังหวัดดำเนินการตามระเบียบ มท.  ว่าด้วยการพัสดุของหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น

 

- ก่อสร้างอาคารที่ทำการแห่งใหม่เพื่อให้บริการแก่ประชาชนได้โดยสะดวกยิ่งขึ้น

 

 

 

 

 

 

 

 

8

จัดทำสัญญาการกู้กับสำนักงาน กสอ.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

9

การรับเงินกู้ กสอ.

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง    การบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

มาตรการเร่งรัดการบริหารงบประมาณรายจ่ายประจำปี ของรัฐบาล

1 . 30 ..

ใช้จ่ายงบประมาณเสร็จทันภายในปีงบประมาณ

ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้ฝ่ายจัดสรรเงินอุดหนุนโทร. 0-2241-9043โทรสาร 0-2241-9043

กรณีการบริหารงบประมาณ ปี 2546ให้เป็นไปตาม

- มติ  ค.ร.ม. เมื่อวันที่15 ต.ค. 2545

- หนังสือ ด่วนที่สุดที่ มท 0810/ว 35ลงวันที่  18 ต.ค. 2545

- หนังสือ ด่วนที่สุดที่ นร 0403/ว 191ลงวันที่  24 ก.ย. 2545

 

1.1 แจ้งให้จังหวัด ท้องถิ่นจัดส่งรูปแบบรายการเพื่อประกอบการขออนุมัติเงิน

ประจำงวดงบประมาณรายจ่ายประจำปี

ภายใน พ..

สามารถอนุมัติเงินประจำงวดได้ภายในเดือน ธ..

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

– ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้ ฝ่ายจัดสรรเงินอุดหนุนโทร. 0-2241-9043โทรสาร 0-2241-9043

 

1.2 แจ้งให้จังหวัด ท้องถิ่นจัดทำแผนการปฏิบัติงาน แผนงานใช้จ่ายเงิน และแผนความต้องการครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง

ภายใน พ..

ใช้เป็นข้อมูลในการจัดสรรเงินได้ตามความต้องการและสอดคล้องกับแผนงาน แผนการใช้เงิน

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

– ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้ ฝ่ายจัดสรรเงินอุดหนุน

โทร. 0-2241-9043

โทรสาร 0-2241-9043

 

 

1.3 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก่อหนี้ผูกพันภายในไตรมาส 2

ภายใน 31 มี..

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก่อหนี้ได้ทันภายในเดือน มี.. เป็นอย่างช้า

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

2

มาตรการและแนวทางการบริหารงบประมาณเสริมของกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

ภายใน ธ..

เป็นมาตรการเสริมให้ท้องถิ่นสามารถก่อหนี้ผูกพันได้เร็วขึ้นและสามารถเบิกจ่ายเงินได้ตามเป้าหมายที่กำหนด (ปี 2546 เป็น 92%)

- ส่วนนโยบายการคลังและพัฒนารายได้ฝ่ายจัดสรรเงินอุดหนุนโทร. 0-2241-9043โทรสาร 0-2241-9043

 

 

2.1ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถก่อหนี้ผูกพันได้ภายในไตรมาสที่ 1

โดยกำหนด แนวทางปฏิบัติเพื่อเติม ดังนี้

ภายใน พ..

 

 

 

 

1) เมื่อองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้รับแจ้งการจัดสรรเงินงบประมาณให้ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างรอไว้จนกว่าจะได้รับอนุมัติเงินประจำงวด

ภายใน พ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

2) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับจัดสรรงบประมาณตามโครงการ รวมทั้งเงินสมทบวงเงินต่ำกว่า 10 ล้านบาท ให้จัดส่งรูปแบบรายละเอียดโครงการ จำนวน 2 ชุด

ภายใน พ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

3) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้รับจัดสรรงบประมาณตามโครงการ  รวมทั้งเงินสมทบวงเงินเกินกว่า 10 ล้านบาทขึ้นไปให้จัดส่งรูปแบบรายละเอียดโครงการจำนวน 4  ชุด

ภายใน พ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

2.2 ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำแผนการปฏิบัติงานแผนการใช้จ่ายเงิน และความต้องการครุภัณฑ์และสิ่ง ก่อสร้าง  (ตามแบบ สงป.46-1,  46-2, 46-3,  46-4 )   จำนวน 2 ชุด

ภายใน 29 พ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

2.3 กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้กำหนดแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณเป็นเดือนปฏิทินเพิ่มเติม ดังนี้

 

 

 

 

 

1) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำแผนปฏิบัติการ แผนการใช้จ่ายเงิน แผนความต้องการครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้างพร้อมทั้งการออกแบบรูปแบบรายการ

ภายใน ต..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

2)  ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้องส่งแผนการปฏิบัติการ แผนการใช้จ่ายเงิน แผนความต้องการครุภัณฑ์ สิ่งก่อสร้าง พร้อมทั้งการออกแบบรูปแบบรายการ  ให้กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นเพื่อขอเงินประจำงวด

ภายใน พ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

3) ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นสามารถก่อหนี้ผูกพันได้

ภายใน ธ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

4) ให้ เป็นช่วงเร่งรัดการดำเนินการตาม

สัญญา การติดตามงาน และการแก้ไข

ปัญหาอุปสรรคต่างๆ

.. –  มิ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

5) ให้ เป็นช่วงการเร่งรัดการเบิกจ่าย

.. – ..

 

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

 

3

การรายงานผลการบริหารงบประมาณ

วันที่ 5,20 ทุกเดือน

 

 

 

 

3.1

รายงานเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ

ให้รายงาน (ตามแบบ จส.01-จส.02 )

วันที่ 5,20 ทุกเดือน

 

ติดตามการบริหารงบประมาณ

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

 

3.2

รายงานเงินอุดหนุนทั่วไป(งบลงทุน) ให้รายงาน(ตามแบบ จส.03-จส.04) สำหรับเงินอุดหนุนทั่วไป(งบลงทุน) ให้รายงานงบที่ได้รับจัดสรรตามมติคณะกรรมการการกระจายอำนาจฯ และที่ตั้งที่กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

 

 

 

 

3.3

ให้รายงานแผน/ผลการปฏิบัติงานการใช้จ่ายเงินงบประมาณและความต้องการครุภัณฑ์สิ่งก่อสร้าง

วันที่ 5 หลังสิ้นไตรมาสทั้ง 4 ไตรมาส

แบบ สงป.46-1-46-4 ติดตามการบริหารงบประมาณ

- ทุกจังหวัด/ทุกองค์กร

ปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

สำนักพัฒนาและส่งเสริมการบริหารงานท้องถิ่น

 

เรื่อง     การดำเนินงานตามโครงการเงินอุดหนุนเฉพาะกิจเพื่อพัฒนาระบบบริการสาธารณสุข

สำหรับผู้ด้อยโอกาสในเขตเมือง

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1.

การฝึกอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่กลุ่มผู้นำชุมชน และประชาชนในพื้นที่

กำหนดแล้วเสร็จภายในเดือนสิงหาคม 2546

1. จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม

2. ระยะเวลาในการดำเนินงาน

3. ระดับความรู้ความเข้าใจของ

ผู้ผ่านการฝึก

อบรม

- เทศบาล และ องค์การบริหารส่วนตำบล

- ส่วนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการมีส่วนร่วม โทร. 0-2243-2226 ต่อ 122

-หนังสือ มท ด่วนมาก ที่ มท 0307/2006  ลว. 28 สิงหาคม 2535

 

1.1 จัดทำโครงการเสนอขอรับความเห็นชอบจากผู้บริหารท้องถิ่น

 

1.2 ดำเนินการฝึกอบรมตามโครงการ

 

 

1.3 ประเมินผล และรายงานผล

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง การดำเนินงานตามโครงการเงินอุดหนุนเฉพาะกิจเพื่อพัฒนาให้เป็นเมืองน่าอยู่

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

การจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

1 .. 45 -  30 .. 47

1.ประชาชนในพื้นที่  มีการคมนาคมที่สะดวก ปลอดภัย ไม่สิ้นเปลื้อง

2.สามารถรองรับปริมาณน้ำ และป้องกันน้ำท่วม

3. ประชาชนมีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ

4. สร้างแหล่งท่องเที่ยวและเพิ่มรายได้

5. ปลูกจิตสำนึกด้านอาชีพและภูมิปัญญาท้องถิ่น

6. สร้างเอกลักษณ์ของชุมชน และเมือง

 

-  ส่วนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการมีส่วนร่วม  โทร.0-2243-2226 ต่อ 114

มติ ครม.เมื่อวันที่ 28 ..2542 เห็นชอบในหลักการของกรอบนโยบาย และแผนการพัฒนาเมือง และชุมชนน่าอยู่อย่างยั่งยืน

-  25 เม..2543 เห็นชอบตามมติ กมช.ในการกำหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนาเมืองน่าอยู่ฯ เป็นวาระแห่งชาติ

-  21 ..2543 เห็นชอบตามที่ สศช. เสนอในเรื่องการแปลงนโยบายการพัฒนาเมืองน่าอยู่ ฯ สู่การปฏิบัติในระดับชุมชน และท้องถิ่น

 

1.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดทำโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนเงินงบประมาณจาก สถ.

 

 

1.2 สถ.พิจารณาโครงการภายใต้กรอบการดำเนินงานและวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติจากสำนักงบประมาณ

 

 

1.3 สถ.จัดทำคำของบประมาณ และดำเนินการตามวงจรงบประมาณจนกระทั้งประกาศเป็น   พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ..2547

 

 

 

1.4 แจ้งวงเงินที่ได้รับจัดสรรให้  ท้องถิ่นทราบ เพื่อทำการเบิกจ่าย

 

 

 

1.5 ติดตามประเมินผล และรายงานการดำเนินงาน ของโครงการจนแล้วเสร็จ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   การดำเนินงานตามโครงการแก้ไขปัญหาเร่งด่วนในเขตเมืองปริมณฑล ด้านถนนโครงข่าย

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

การจัดสรรเงินอุดหนุนเฉพาะกิจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

1 .. 45 - 30 .. 47

1.ประชาชนในพื้นที่  มีการคมนาคมที่สะดวก ปลอดภัย ไม่สิ้นเปลื้อง

 

ส่วนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการมีส่วนร่วม โทร.0-2243-2226 ต่อ 114

มติ ครม. เมื่อวันที่  14 มี..2538 เรื่องการเสนอแผนงาน/โครงการ ด้านการจราจร และขนส่ง

- แผนปฏิบัติการแก้ไขปัญหาเร่งด่วนในเขตเมืองปริมณฑล ด้านถนนโครงข่าย ระยะ    5 ปี (..2545-2549)

 

1.1 องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำโครงการเสนอขอรับการสนับสนุนเงินงบประมาณจาก สถ.

 

 

 

 

 

1.2 สถ.พิจารณาโครงการภายใต้กรอบการดำเนินงานและวงเงิน ที่ได้รับอนุมัติจากสำนักงบประมาณ

 

 

 

 

 

1.3 สถ.จัดทำคำของบประมาณ และดำเนินการตามวงจรงบประมาณจนกระทั้งประกาศเเป็น   พรบ.งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ..2547

 

 

 

 

 

1.4 แจ้งวงเงินที่ได้รับจัดสรรให้  ท้องถิ่นทราบ เพื่อทำการเบิกจ่าย

 

 

 

 

 

1.5 ติดตามประเมินผล และรายงานการดำเนินงาน ของโครงการจนแล้วเสร็จ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง การจัดการสิ่งแวดล้อมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

การจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม

..-.. ทุกปี

แผนงาน /โครงการด้านสิ่งแวดล้อม

-องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่วประเทศ

...ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่ง

แวดล้อม พ..2535

 

1.1 นำกรอบ/แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมที่กระทรวงทรัพยากรฯ  เห็นชอบ   มาใช้เป็นแนวทางการจัดทำโครงการ  ด้านสิ่งแวดล้อม

.. –..

 

- ส่วนส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการมีส่วนร่วม โทร. 0-2243-2226 ต่อ 121

 

 

1.2 ท้องถิ่นจัดทำแผนปฏิบัติงานโครงการตามแนวทางเป็นกิจกรรม ดังนี้

.. –.

 

 

 

1) การบริหารจัดการ

 

 

 

 

 

2) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

 

 

 

 

 

3) การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมมนุษย์

 

 

 

 

 

4) การป้องกันและแก้ไขมลภาวะเพื่อขอรับการสนับสนุนจากกระทรวงทรัพยากรฯ/หรือกองทุนสิ่งแวดล้อม

 

 

 

 

 

1.3 จัดส่งแผนงาน/โครงการให้ กพจ.พิจารณาให้ความเห็นชอบและผนวกไว้ในแผนปฏิบัติการสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดเพื่อส่งให้กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติพิจารณาต่อไป

ภายใน ก..

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การจัดตั้งโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กของท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

1.1ขอรับความเห็นชอบจากสภาเทศบาล/เมืองพัทยา ในการดำเนินโครงการจัดตั้งโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็ก

-  หลักการเหตุผล
-  สถานที่จัดตั้ง
-  แผนงบประมาณ
-  แผนการรับนักเรียน

- ประสานกระทรวงมหาดไทยในการขอรับการสนับสนุนล่วงหน้า 1 ปี งบประมาณ

-  จำนวนโรงเรียน ที่ดำเนินการจัดตั้ง

-  สำนัก/กองการศึกษา เทศบาล/เมืองพัทยา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้งโรงเรียน พ.. 2524

- หนังสือ ที่ มท 0312.1/1642 ลว. 31 .. 2537

– รธน. .. 2540 มาตรา 43 มาตรา 81 และมาตรา289

- ...เทศบาล พ.. 2496มาตรา 50 (6)

- ... เมืองพัทยา มาตรา676

– ...สภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.. 2537  มาตรา 67 (5)

- ... การศึกษาแห่งชาติ

.. 2542 มาตรา 41

- ...กำหนดแผนและขั้นตอนกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2542  มาตรา 16 (9)

- มติคณะรัฐมนตรี ลว. 16 มี.. 2542  มาตรการที่ 3,4

 

หน่วยงานส่วนกลาง

ส่วนประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น  โทร.

0-2241-9021 , 0-2241-9023

 

1.2  รายงานประสานกระทรวงมหาดไทยเกี่ยวกับแผนการขอรับหารสนับสนุนงบประมาณและบุคลากร โดยแนบรายละเอียดโครงการ พร้อมเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง

- ประสานกระทรวงมหาดไทย ล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 1 ปี งบประมาณ

 

-  สำนัก/กองการศึกษา เทศบาล/เมืองพัทยา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

2

กระทรวงมหาดไทย แจ้งรายละเอียดการของบประมาณและบุคลากรที่จะให้การสนับสนุนแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- ก่อนการพิจารณางบประมาณประจำปีที่ดำเนินการจัดตั้งโรงเรียน

 

- กระทรวงมหาดไทย (กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น) เสนอผ่านกลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

3

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พิจารณาศักยภาพความสามารถในการดำเนินการจัดการศึกษาภายใต้เงื่อนไขการสนับสนุนของราชการส่วนกลางกับภารกิจที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจะต้องรับผิดชอบค่าใช้จ่าย

- ก่อนปีงบประมาณขอดำเนินการของปีการศึกษา

 

- สำนัก/กองการศึกษา เทศบาล/เมืองพัทยา

 

4

ดำเนินการตามข้อ 1 – 3 กรณี มีการถ่ายโอนภารกิจด้านการจัดการศึกษาให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ที่มีความพร้อม (ยกเว้น กทม.)

 

 

หน่วยงานที่รับผิดชอบงานจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง    การรวมและเลิกล้มโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กท้องถิ่น

 

 

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

ขอความเห็นชอบจากสภาท้องถิ่น ในการดำเนินการรวม/การเลิกล้มโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็ก

-  หลักการเหตุผล

-  แผนการรวม/เลิกล้ม

-  ขออนุมัติต่อกระทรวงมหาดไทยล่วงหน้าไม่น้อยกว่า1 ปีงบประมาณของปีการศึกษาที่จะดำเนินการ

- จำนวนโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่จะดำเนินการรวมหรือเลิกล้ม

- สำนัก/กองการศึกษา เทศบาล/เมืองพัทยา

-  ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการจัดตั้ง โรงเรียน  .. 2524

-  หนังสือ ที่ มท 0312.1/1642  ลว. 31 .. 37

2

สภาท้องถิ่นให้ความเห็นชอบ

1)  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีประกาศรวมหรือเลิกล้มสถานศึกษา/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

2)  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานกระทรวงมหาดไทยรับทราบ

-  หลักการเหตุผล

-  แผนการรวม/เลิกล้ม

-  ประกาศองค์กรปกครองส่วน

ท้องถิ่นรวม/เลิกล้ม

ก่อนปีงบประมาณของปีการศึกษาที่จะรวมหรือเลิกล้มไม่น้อยกว่า 1 ปี

 

- สำนัก/กองการศึกษา เทศบาล/เมืองพัทยา

 

3

กระทรวงมหาดไทยรับทราบรายงานเพื่อ
-  ดำเนินการทางสถิติข้อมูล
-  ประสานสำนักงบประมาณเกี่ยวกับการจัดสรรหรืองดการจัดสรรงบประมาณ

ก่อนปีงบประมาณของปีการศึกษาที่จะรวมหรือเลิกล้มไม่น้อยกว่า 1 ปี

 

- สำนัก/กองการศึกษา เทศบาล/เมืองพัทยา

 

4

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รายงานกระทรวงมหาดไทยเพื่อรับทราบ
1)  สำเนาโครงการจัดตั้งโรงเรียน
2)  สำเนารายงานการประชุมสภาท้องถิ่นในการเห็นชอบ/รับทราบการยืนยันจัดตั้งโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็ก
3)  สำเนาประกาศองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จัดตั้งโรงเรียน/ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

 

 

 

 

5

กระทรวงมหาดไทย

-  รับทราบการจัดตั้ง

-  รวบรวมข้อมูลการจัดตั้ง
-  ประสานการขอรับการสนับสนุนทรัพยากรด้านต่างๆ

 

 

- สำนัก/กองการศึกษา เทศบาล/เมืองพัทยา

 

6

ดำเนินการตามข้อ 1-5 กรณีมีการถ่ายโอนภารกิจด้านจัดการศึกษาให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ที่มีความพร้อม (ยกเว้น กทม.)

 

 

- หน่วยงานที่รับผิดชอบงานจัดการศึกษาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การประสานการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

ประสานการจัดการศึกษาท้องถิ่นตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.. 2544 ของสถานศึกษาในสังกัดเทศบาลและเมืองพัทยาหรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ (ยกเว้น กทม.)

..  และจะส่งเพิ่มเติมใน พ..

หน่วยงาน/สถานศึกษา/พนักงานครูได้รับเอกสารการจัดทำหลักสูตรฯ ครบถ้วน

ส่วนประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่นโทร.0-2241-9021, 0-2241-9023

เทศบาล/เมืองพัทยา

คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ วก 1166/2544ลงวันที่ 2 .. 2544

 

 

 

 

 

 

2

การพัฒนาการใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ประชุมชี้แจงผู้บริหารเทศบาล/เมืองพัทยา ผู้บริหารสถานศึกษา พนักงานครู โรงเรียนสังกัดเทศบาลและเมืองพัทยา  รวมทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ (ยกเว้น กทม.) เมื่อมีการถ่ายโอนภารกิจด้านการจัดการศึกษาให้ท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ ให้เข้าใจสาระสำคัญของหลักสูตร รวมถึงกระบวนการขั้นตอนการจัดทำหลักสูตร การจัดการเรียนการสอนการจัดทำแผนการเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการและภูมิปัญญาของประชาชนในท้องถิ่น

.. - มี..

ผู้บริหาร/สถานศึกษา/พนักงานครูปฏิบัติการสอนมีความรู้ความเข้าใจในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

ส่วนประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่นโทร.0-2241-9021, 0-2241-9023เทศบาล/เมืองพัทยา

คำสั่งกระทรวงศึกษา

ธิการ  ที่ วก 1166/2544
ลงวันที่ 2 .. 2544

 

 

 

 

 

 

3

สถานศึกษาสังกัดเทศบาล/เมืองพัทยา หรือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ (กรณีมีการถ่ายโอนภารกิจ) ใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดการศึกษาสอดคล้องกับ พ...การศึกษาแห่งชาติ

ตามประกาศใช้หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานของ ศธ.

สถานศึกษาที่ใช้หลักสูตรการศึกษาตามที่ ศธ. กำหนด

ส่วนประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น โทร. 0-2241-9021

0-2241-9023

คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการ ที่ วก 1166/2544 ลงวันที่ 2 .. 2544

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การจัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี  (.1 - .3)  ในปีการศึกษา 2546

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  แจ้งเทศบาล  เพื่อยืนยันขอเปิดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี (.1-.3) ตามแบบสำรวจ   ข้อมูลความต้องการขยายการจัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี (.1-.3) ของโรงเรียนเทศบาล

ภายใน ก..

มีโรงเรียน จัดการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี   (.1-.3) เพิ่มขึ้น/เยาวชน ได้รับการศึกษาอย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ

ส่วนประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น โทร.0-2241-9021,  0-2241-9023

- มติ ครม. 4 .. 2533

- หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0318/6434

ลว. 11 .. 2535

 

 

 

 

 

 

2

ดำเนินการพิจารณาโรงเรียนที่พร้อมจัดการขยายการศึกษา  ภาคบังคับ และขออนุมัติอธิบดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น  ในการขอรับการสนับสนุนงบประมาณในปีงบประมาณ 2546

ภายใน พ..

 

ส่วนประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น โทร.0-2241-9021,  0-2241-9023

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง    ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

การประกันคุณภาพภายใน

 

 

 

 

1

ให้โรงเรียนในสังกัดเทศบาลและเมืองพัทยา   ดำเนินการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาด้านคุณลักษณะนักเรียน

ภายในวันที่

1 - 15 ..

ของปีการ

ศึกษา

มาตรฐานการศึกษา
16 มาตรฐาน
63 ตัวบ่งชี้

เทศบาลและเมืองพัทยา

...การศึกษาแห่งชาติ พ.. 2542 . 48

2

ให้โรงเรียนในสังกัดเทศบาลและเมืองพัทยาดำเนินการจัดทำรายงานผลการประเมินตนเอง (SSR/SAR) ของโรงเรียน

ภายในเดือน

เม.. ของ

ปีการศึกษา

 

 

 

 

การประกันคุณภาพภายนอก

 

 

 

 

1

ให้เทศบาลและเมืองพัทยาแจ้งรายชื่อโรงเรียนในสังกัด     ที่มีประกันคุณภาพภายในอย่างเป็นระบบและมีความพร้อมที่จะรับการประเมินจากภายนอกให้กรม ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น

ภายใน

.. - ..

ของปีการศึกษา

มาตรฐานการศึกษา

เทศบาลและเมืองพัทยา

...การศึกษาแห่งชาติ พ.. 2542 . 49

2

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น   รวบรวมรายชื่อที่มีความพร้อมที่จะรับการประเมินจากภายนอกส่งให้ สปศ. เพื่อดำเนินการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษาจากภายนอกสถานศึกษา

 

 

- ส่วนประสานและพัฒนาการจัดการศึกษาท้องถิ่น โทร.0-2241-9021,  0-2241-9023

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง  การสร้างมาตรฐานการบริหารงาน และตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

ศึกษา วิเคราะห์การปฏิบัติงาน การบริการสาธารณะ และประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อสร้างมาตรฐานการบริหารงานและตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของท้องถิ่น

ตามแผนปฏิบัติการในแต่ละปี

มาตรฐานการบริหารงาน และ ตัวชี้วัด ประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ด้านต่าง ๆ  ของ

ส่วนมาตรฐานการบริหารงานท้องถิ่น   โทร. 0-2243-2226  ต่อ 135, 137    

 

 

 

 

 

 

 

2

กำหนดแบบสอบถามเพื่อรวบรวมข้อมูลด้านการบริหารจัดการของท้องถิ่น ทั้งในด้านการวางแผนพัฒนาท้องถิ่น การพัฒนารายได้ การบริหารจัดการทางการเงินการคลัง  การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน การพัฒนาเศรษฐกิจ  การพัฒนาสังคม  และการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม  เช่น การกำจัดขยะ  การบำบัดน้ำเสีย เป็นต้น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

ตรวจสอบ และวิเคราะห์ข้อมูล โดยอาจจ้างทีมงานที่ปรึกษาจากสถาบันการศึกษา เพื่อร่วมศึกษา และสร้างมาตรฐานและ   ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

4

จัดฝึกอบรมสัมมนาแก่ผู้บริหาร และพนักงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อชี้แจงให้ความรู้ในเรื่องมาตรฐานและ ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการบริหารงานของท้องถิ่น  รวมทั้งรับฟังปัญหา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมอบรมสัมมนา เพื่อให้ท้องถิ่นสามารถนำมาตรฐานและตัวชี้วัดฯ ดังกล่าไปใช้ในทางปฏิบัติและเกิดผลเป็นรูปธรรมความรู้แก่ผู้บริหารในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทุกระบบ เพื่อนำมาตรฐานที่สร้างขึ้นไปปฏิบัติให้เกิดเป็นรูปธรรม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   การประเมินและพัฒนามาตรฐานการบริหารงานของท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

จัดเจ้าหน้าที่ หรืออาจจ้างทีมงานจากสถาบันการศึกษา  เพื่อตรวจนิเทศ  ติดตาม และเก็บข้อมูลผลการปฏิบัติงาน  และการให้บริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในด้านต่าง 

ตามแผนปฏิบัติการ   ในแต่ละปี

รายงานสรุป ผลการเก็บข้อมูล และผลการวิเคราะห์การปฏิบัติงาน

ส่วนมาตรฐานการบริหารงานท้องถิ่น   โทร.

0-2243-2226  ต่อ 135, 137    

 

 

 

 

 

 

 

2

วิเคราะห์และประเมินนำผลการปฏิบัติงานและการให้บริการสาธารณะของท้องถิ่น  เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการพัฒนา ปรับปรุงมาตรฐานการบริหารงาน  และ   ตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  โดยอาจจ้างทีมงานที่ปรึกษาจากสถาบันการศึกษา ร่วมในการพัฒนาปรับปรุง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

ประสาน หรือจัดประชุมชี้แจง หรือจัดประชุมสัมมนาผู้บริหาร และพนักงานของท้องถิ่น   เพื่อให้รับทราบผลการพัฒนาปรับปรุงมาตรฐานและตัวชี้วัดประสิทธิภาพการบริหารงานของท้องถิ่น   รวมทั้งให้ผู้เข้าร่วมการสัมมนาได้มีโอกาสแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อนำไปพิจารณาปรับปรุง และพัฒนาการบริหารจัดการของตนให้มีประสิทธิภาพดียิ่ง ๆ ขึ้นไป  และบังเกิดผลทางปฏิบัติ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   ประสานการปฏิบัติงานและสร้างภาคเครือข่ายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

แจ้งประสานกับกลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นระดับจังหวัดเพื่อให้รับทราบการกำหนดมาตรฐานการบริหารงาน และตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  เพื่อเผยแพร่ ส่งเสริม และสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในจังหวัดนำไปปฏิบัติพร้อมกับประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชน สถาบันการศึกษา  องค์กรต่าง ๆ  ได้รับทราบเพื่อกระตุ้นให้เกิดความต้องการที่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการกำกับ ดูแลการบริหารจัดการของท้องถิ่นของตนเอง

ตามแผนปฏิบัติการในแต่ละปี

 

ความร่วมมือและความหลากหลายของหน่วยงานหรือ องค์กรต่าง ๆ ที่ประสานงาน

ส่วนมาตรฐานการบริหารงานท้องถิ่น  โทร.0-2243-2226  ต่อ 135, 137

 

 

 

 

 

 

 

2

ส่งเสริม สนับสนุน  และประสานการปฏิบัติกับหน่วยงาน สถาบันการศึกษา  ประชาชน และองค์กรต่าง ๆ เพื่อให้เข้าใจและตระหนักถึงความสำคัญในการที่จะต้องช่วยกันผลักดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล  โดยมีมาตรฐานการบริหารงาน และตัวชี้วัดประสิทธิภาพการปฏิบัติงานเป็นเครื่องมือในการกำกับ ดูแล และตรวจสอบ

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

กองตรวจสอบระบบการเงินบัญชีท้องถิ่น

 

เรื่อง   การติดตามผลการดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามข้อเสนอแนะของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

การติดตามผลการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  ตามข้อเสนอแนะของ สตง. ในการตรวจสอบบัญชี / งบการเงินประจำปีโดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้

ตลอดทั้งปี

จำนวนเรื่องที่สตง.แจ้งเข้ามาและจำนวน. เรื่องที่ได้รับรายงานผลการแก้ไขจากจังหวัด

กลุ่มงานพัฒนาระบบตรวจสอบโทร 0 -2241-9026

- นส.มท. ที่ มท.0313.6 / ว 1067ลว . 5 เม.ย. 37

- นส.มท. ที่ มท.0313.6 / ว 532ลว . 7 มี.ค. 40

 

 

 

 

 

 

1

ท้องถิ่นต้องชี้แจง  หรือปฏิบัติตามข้อเสนอแนะของสตง. และแจ้ง สตง. พร้อมกับสำเนาเรื่องที่แจ้งสตง. ส่งให้จังหวัด 1 ชุด

โดยเร็วอย่างช้าไม่เกิน 45วันนับจากวันที่ได้รับรับแจ้งจากสตง.

จำนวนเรื่องที่แจ้งสตง. และดำเนินการภายในระยะเวลาที่กำหนด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- ระเบียบ มท .ว่าด้วยการรับเงินการเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 ข้อ 91

 

 

 

 

 

 

2

ผวจ.  ติดตามผลการดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องของท้องถิ่นตามข้อ1  และแจ้งผลให้สตงทราบพร้อมกับสำเนาเรื่องที่แจ้งสตง. ส่ง มท . 1 ชุด

โดยเร็ว

จำนวนเรื่องที่แจ้งสตง. และมท.

ปกครองท้องถิ่นจังหวัด

- คำสั่ง มท. ที่ 192 / 2537  ลว. 23 เม.ย. 2537

 

 

 

 

 

 

3

กรณีท้องถิ่นชี้แจงข้อทักท้วงแล้ว แต่ สตง. ยืนยันว่าไม่มีเหตุผลที่จะล้างข้อทักท้วง  ให้ท้องถิ่นชี้แจงเหตุผลรายงานผวจ.วินิจฉัย

ภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้รับคำยืนยันจาก สตง

ดำเนินการภายในเวลาที่กำหนด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- ระเบียบ มท .ว่าด้วยการรับเงินการเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2541 ข้อ 92

 

 

 

 

 

 

4

ผวจ.วินิจฉัยเหตุผลการขอล้างข้อทักท้วงของท้องถิ่นตาม 3  แล้วแจ้งผลการวินิจฉัยให้ท้องถิ่นทราบ

ภายใน 30 วันนับจากวันที่ได้รับรายงานจากท้องถิ่น

ดำเนินการภายในเวลาที่กำหนด

กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

- ระเบียบ มท .ว่าด้วยการรับเงินการเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อ 92

 

 

 

 

 

 

5

ท้องถิ่นปฏิบัติตามคำวินิจฉัยของ ผวจ.

ภายใน 45 วันนับจากวันที่ทราบผลการวินิจฉัย

ดำเนิการภายในเวลาที่กำหนด

กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

- ระเบียบ มท .ว่าด้วยการรับเงินการเบิกจ่ายเงิน การฝากเงินการเก็บรักษาเงิน และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ข้อ 92

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   การติดตามผลการดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  กรณีมีการทุจริต/ผิดปกติทางการเงิน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

การติดตามผลการดำเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกรณีที่มีการทุจริต / ผิดปกติทางการเงิน   โดยมีขั้นตอนการดำเนินการ  ดังนี้

ตลอดทั้งปี

จำนวนเรื่องทุจริตที่ได้รับรายงานเข้ามาและจำนวนเรื่องที่ดำเนินการติดตามผลจากจังหวัด

กลุ่มงานพัฒนาระบบตรวจสอบโทร 0 -2241-9026

- นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 2573ลว .15 ส.ค. 2540 และ นส.

- มท.ที่ มท.0313.6 / ว 2620ลว 17 ก.ย.2542

1

ท้องถิ่นต้องดำเนินการ

 

 

 

 

 

1.1 ทางอาญา แก่ ผู้กระทำผิด

โดยเร็ว

สามารถจับกุมตัวผู้กระทำผิดได้

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 2573ลว .15 ส.ค. 2540 และ นส.

-  มท.ที่ มท.0313.6 / ว 2620ลว 17 ก.ย.2542

 

1.2 ทางแพ่ง แก่ผู้กระทำผิดและผู้เกี่ยวข้อง

โดยเร็ว

ได้รับการชดใช้เงินคืนครบถ้วนโดยเร็ว

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 2573ลว .15 ส.ค. 2540 และ นส.

-  มท.ที่ มท.0313.6 / ว 2620ลว 17 ก.ย.2542

 

1.3 1.3 ทางวินัย แก่  ผู้กระทำผิดผู้บังคับบัญชาและผู้เกี่ยวข้อง

โดยเร็ว

มีการลงโทษทางวินัยแก่ผู้กระทำผิดและผู้เกี่ยวข้อง

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 2573ลว .15 ส.ค. 2540 และ นส.

-  มท.ที่ มท.0313.6 / ว 2620ลว 17 ก.ย.2542

2

ท้องถิ่นรายงานผลการดำเนินการทางแพ่ง  ทางอาญาและทางวินัย ให้ จว.ทราบ

ทุก 3 เดือน

จำนวนเรื่องที่รายงานและภายในเวลาที่กำหนด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

-  นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 2620ลว. 17 ก.ย. 2542

3

จว.ติดตามผลการดำเนินการของท้องถิ่นให้เป็นไปตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง

ทุก 3 เดือน

จำนวนเรื่องที่รับรายงานและติดตามผลจากท้องถิ่น

กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

- นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 2620ลว. 17 ก.ย. 2542

4

กรณีที่ท้องถิ่นตรวจพบเงินขาดบัญชี / เจ้าหน้าที่ทุจริตเองให้แจ้ง สตง.และ มท.ทราบโดยตรงทันทีและแจ้ง จว.ทราบด้วย

(การรายงานผลการดำเนินการทางแพ่ง อาญาและวินัย ในครั้งต่อๆไป  ให้รายงานจว.  เพื่อให้จว.รายงาน มท.ทราบ)

โดยทันที(การรายงานครั้งต่อๆไปรายงานทุก3 เดือน)

การปฏิบัติงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 2620ลว. 17 ก.ย. 2542

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   การติดตามผลการสอบทานการปฏิบัติงาน ด้านการเงิน การบัญชี การพัสดุ ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

ติดตามผลการสอบทานการปฏิบัติงาน  ด้านการเงิน การบัญชี  การพัสดุของท้องถิ่นโดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้

ตลอดทั้งปี

จำนวนรายงานการสอบทานที่จังหวัดส่งเข้ามา

กลุ่มงานพัฒนาระบบตรวจสอบโทร 0 -2241-9026

- นส.มท.ที่ มท.0313.6/ ว 799ลว. 21 มี.ค. 2544

1

ผู้บริหารท้องถิ่น ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและหัวหน้าหน่วยงานคลัง สอบทานการปฏิบัติงานด้านการเงิน   การบัญชี และการพัสดุ ทุก 3 เดือนและรายงาน  ผจว.ทราบ

ทุก 3 เดือน

การรายงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- นส.มท.ที่ มท 0313.6 / ว 799ลว. 21 มี.ค. 2544

2

ผู้บริหารท้องถิ่น ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สอบทานการดำเนินการตามโครงการเพื่อประเมินผลโครงการว่าเป็นไปตามแผนงาน เป้าหมายและคุ้มกับงบประมาณที่ใช้ไปหรือไม่  และรายงาน ผวจ.ทราบทุก 3 เดือน

ทุก 3 เดือน

การรายงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- นส.มท.ที่ มท 0313.6 / ว 799ลว. 21 มี.ค. 2544

3

จังหวัดสรุปผลการสอบทานตามข้อ 3.1 และ .32 รายงานให้มท.ทราบ ทุก3 เดือน

ทุก 3 เดือน

การรายงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด

กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

- นส.มท.ที่ มท 0313.6 / ว 799ลว. 21 มี.ค. 2544

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   การติดตามผลการวางระบบการควบคุมภายใน ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

การติดตามผลการวางระบบการควบคุมภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยมีขั้นตอนการดำเนินการดังนี้

ตลอดทั้งปี

จำนวนรายงานของจังหวัด

กลุ่มงานพัฒนาระบบตรวจสอบโทร 0 -2241-9026

- นส.มท. ที่ มท.0313.6 / ว.1044ลว 20 พ.ค.2545

1

ท้องถิ่นวางระบบการควบคุมภายในตามระเบียบ  คตง. ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน  พ.ศ. 2544

ดำเนินการวางระบบให้แล้วเสร็จภายในวันที่ 27 ต.ค.2545

ผลสำเร็จของระบบการควบคุมภายใน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 - ระเบียบ คตง..ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544

2

ท้องถิ่นรายงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในต่อ  ผวจ.(กรณีเทศบาล/ เมืองพัทยา และอบจ.) และ  นอภ. (กรณีอบต.)

ปีละ 1 ครั้งภายใน 90 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ

การรายงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

- ระเบียบ คตง..ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ. 2544

- นส.มท. ที่ มท.0313.6 / ว.1044ลว 20 พ.ค.2545

3

จว.  สรุปผลการวางระบบการควบคุมภายในรายงานให้มท. ทราบปีละ 1 ครั้ง

ปีละ 1 ครั้ง

การรายงานเป็นไปตามระยะเวลาที่กำหนด

กลุ่มส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัด

 - นส.มท.ที่ มท .0313.6/ ว. 1044ลว . 20 พ.ค.2545

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง     การวางระบบการตรวจสอบการเงิน การบัญชีและการพัสดุองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นได้นำเสนอปลัดกระทรวงมหาดไทย  เพื่อวางระบบการตรวจสอบการเงินบัญชีและพัสดุ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  โดยจัดทำคู่มือการตรวจสอบ  การเงิน บัญชี  และการพัสดุ   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น   เพื่อให้กลุ่มงานการเงินบัญชี  และการตรวจสอบของจังหวัด    มีขั้นตอนและแนวทางการตรวจสอบ  เป็นในแนวทางเดียวกัน   ทั่วประเทศ

..45

-  เจ้าหน้าที่ของกลุ่มการเงินจังหวัดสามารถตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้

- กลุ่มงานตรวจสอบโทร.0-2241-9026

- กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กระทรวงมหาดไทย พ..2545 ข้อ 3(5) อำนาจหน้าที่ของกองตรวจสอบระบบการเงินบัญชี     ท้องถิ่น

หนังสือ ที่ มท 0805/3476 ลงวันที่ 9 ..2545

2

จัดโครงการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่กลุ่มงานการเงินบัญชีและการตรวจสอบเพื่อให้ความรู้และฝึกปฏิบัติให้สามารถเข้าตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้

..45-..46

- เจ้าหน้าที่ได้รับความรู้จากการ    ฝึกอบรม

-  กลุ่มงานตรวจสอบโทร.0-2241-9026

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   การตรวจสอบการเงิน บัญชีและการพัสดุองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

เจ้าหน้าที่กลุ่มงานการเงินของจังหวัด ตรวจสอบการเงินบัญชีและการพัสดุองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ตามคู่มือการตรวจสอบ ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้

 

-  เจ้าหน้าที่ของกลุ่มการเงินจังหวัดสามารถตรวจสอบองค์กรปกครองส่วน   ท้องถิ่นได้

-  กลุ่มงานการเงินบัญชีและการตรวจสอบของจังหวัด

 

-  กลุ่มงานตรวจสอบโทร.0-2241-9026

- หนังสือ ที่ มท 0805/3476 ลงวันที่ 9 ..2545

 

1.1   กำหนดเป้าหมายในการตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นภายในจังหวัด  ปีละ      ไม่น้อยกว่า   2  ครั้ง

- ก่อนสิ้นปี    งบประมาณ

 

 

 

1.2  จัดทำแผนการตรวจสอบการเงินบัญชี ประจำปี  โดยแบ่งชุดตรวจสอบแห่งละ 1 วัน

- ก่อนสิ้นปี   งบประมาณ

 

 

 

1.3  เสนอขออนุมัติแผนการตรวจสอบต่อผู้ว่าราชการจังหวัดและส่งสำเนาแผนการตรวจสอบให้กระทรวงมหาดไทย 1 ชุด

-  ก่อนสิ้นปี    งบประมาณ

 

 

 

 

1.4   ออกตรวจสอบตามแผนการตรวจสอบโดยออกตรวจสอบพร้อมกันทุกชุด

-  ตลอดปีงบประมาณ

 

 

 

 

1.5   จัดทำรายงานผลการตรวจสอบ  และนำเสนอผลการตรวจให้ผู้ว่าราชการจังหวัด  ส่งสำเนารายงานผลให้หน่วยรับตรวจและกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นทราบ แห่งละ   1   ชุด

-  เมื่อตรวจสอบเสร็จสิ้น

 

 

 

 

1.6   สรุปผลการตรวจสอบและสรุปข้อบกพร่องที่พบเพื่อรายงานผู้ว่าราชการจังหวัดและกระทรวงมหาดไทย

-  ทุกงวด  3 เดือน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง    การตรวจนิเทศการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

จัดทำแผนการตรวจนิเทศการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและนำเสนอขออนุมัติปลัดกระทรวงมหาดไทย

- ก่อนสิ้นปีงบประมาณ

 

- กลุ่มงานตรวจสอบโทร. 0-2241-9026

 

2

ออกตรวจนิเทศการคลังองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามแผนที่ได้รับอนุมัติเพื่อติดตามผลการตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของกลุ่มการเงินบัญชีและการตรวจสอบของจังหวัด และให้คำปรึกษาแนะนำโดยให้กลุ่มการเงินฯ  เข้าร่วมตรวจสอบ   องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

(โดยในปีงบประมาณ 2546

จัดทำแผนเข้าตรวจสอบ 36 จังหวัด รวม 288 หน่วย)

- ตลอดปีงบประมาณ

- เจ้าหน้าที่กลุ่มงานการเงินบัญชีและการตรวจสอบของจังหวัดสามารถตรวจสอบองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้

- กลุ่มงานตรวจสอบ

โทร. 0-2241-9026

- ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการรับเงิน การเบิกจ่ายเงิน การฝากเงิน การเก็บรักษาเงิน  และการตรวจเงินขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2541  ข้อ 93

3

ตรวจสอบกรณีพิเศษเมื่อได้รับการร้องขอจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  หรือที่ได้รับมอบหมาย

- ตามที่ร้องขอ

- สามารถแก้ไขปัญหาให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้

- กลุ่มงานตรวจสอบโทร. 0-2241-9026

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

เรื่อง   การติดตามผลการตรวจสอบการเงิน การบัญชี และการพัสดุองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

ติดตามผลการตรวจสอบการเงินบัญชี   และการพัสดุองค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่นของกลุ่มงานการเงินบัญชีและการตรวจสอบของจังหวัด  เพื่อให้มีการรายงานผลการตรวจสอบ  ให้ทราบและสรุปข้อบกพร่อง ให้ทราบ

- ตลอดปีงบประมาณ

- จำนวนจังหวัดที่รายงาน

- กลุ่มงานตรวจสอบ โทร. 0-2241-9026

 

2

สรุปผลการตรวจสอบของจังหวัดและสรุปข้อบกพร่องที่จังหวัดตรวจพบรายงานให้ปลัดกระทรวงมหาดไทยทราบ

- หลังจากที่ได้รับรายงาน

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

กองกฎหมายและระเบียบท้องถิ่น

 

เรื่อง    การดำเนินการกรณีความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อหน่วยงานของรัฐ

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

1

แต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนข้อเท็จจริงความรับผิดทางละเมิดแล้วรายงานเหตุ ความเสียหาย  พร้อมทั้ง  การแต่งตั้งคณะกรรมการฯ ให้ จังหวัดและ กระทรวงมหาดไทย ทราบ

- ภายใน 15 วันนับถัดจากที่หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่นได้รับรายงานความเสียหาย

- การดำเนินการในแต่ละขั้นตอนเป็นไปอย่างถูกต้องตามระเบียบกฎหมายและภายในระยะเวลาที่กำหนด 

 

- หน่วยงานของรัฐได้รับการชดใช้ค่าสินไหมทดแทน โดยครบถ้วน  เหมาะสมและ       ถูกต้องตาม

ระเบียบกฎหมาย 

 

-  เจ้าหน้าที่ของ  องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ได้รับการพิจารณาความผิดด้วยความเป็น

ธรรมโดยถูกต้องตามระเบียบ กฎหมาย   และ  

ข้อเท็จจริง

- หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยความรับผิดทางละเมิดฯ พ.. 2539 ข้อ 8  และ นส. ที่ มท  0313.6/2092  ลว. 1 .. 2540

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ฯ ข้อ 12 และ นส. ที่ มท  0313.6/275  ลว 28 .. 2542

2

กรณีท้องถิ่นไม่แต่งตั้งคณะกรรมการฯ ตามข้อ 1 หรือแต่งตั้งแล้วแต่ไม่เหมาะสมหรือไม่ถูกต้องให้ดำเนินการ ดังนี้

 

 

 

 

 

2.1  กรณีเทศบาล เมืองพัทยาและ อบจ.   ผู้ว่าราชการจังหวัดพิจารณาแต่งตั้ง  หรือเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ

โดยเร็ว

 

- ผู้ว่าราชการจังหวัด

 

 

2.2  กรณี อบต. นายอำเภอ/ ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้ากิ่งอำเภอพิจารณาแต่งตั้ง หรือเปลี่ยนแปลงคณะกรรมการฯ

โดยเร็ว

 

- นายอำเภอ หรือปลัดอำเภอ  ผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ

 

3

การวินิจฉัยสั่งการของผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ

- ภายใน 15 วัน หลังจากได้รับผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯ

 

- ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ (หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น หรือ ผู้ว่าราชการจังหวัดนายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอแล้วแต่กรณี)

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ฯ ข้อ 16

-- นส. ที่ มท  0313.6/2092   ลว. 1 .. 2540

- ระเบียบสำนักนายก รัฐมนตรี ฯ ข้อ 17 วรรคหนึ่ง

 

3.1 กรณีผลการพิจารณาของคณะกรรมการฯ ยังไม่สมบูรณ์ สั่งการให้คณะกรรมการฯ ทบทวนหรือสอบสวนเพิ่มเติม

 

 

3.2 วินิจฉัยว่ามีผู้รับผิดชดใช้ค่าสินไหมหรือไม่ ถ้ามีต้องชดใช้คนละเท่าใด

 

 

4

การส่งคำวินิจฉัย และสำนวนการสอบสวนพร้อมสรุปผลการสอบสวน

 

 

 

 

 

4.1 ส่งกระทรวงการคลัง

- ภายใน 7 วัน
นับแต่วันวินิจฉัย

 

 

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีฯ  ข้อ 17 วรรคสอง

- ประกาศกระทรวงการคลัง

- นส. กรมการปกครอง ด่วนที่สุด ที่ มท 0313.4/8  ลว. 16 .. 2545 และ นส. กระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0313.6/ 2092 ลว. 1 .. 2540

 

(ยกเว้น  มูลค่าความเสียหายอันมีสาเหตุจากภัยธรรมชาติมูลค่า   ครั้งละไม่เกิน 1,000,000 บาท และความเสียหายเกิดจากสาเหตุทั่วไปครั้งละไม่เกิน 100,000 บาท  ไม่ต้องส่งเรื่องให้กระทรวงการคลังตรวจสอบแต่ให้ส่งแบบรายงานความเสียหายให้กระทรวงการคลังทราบ)

 

- ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ (หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น หรือ ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอแล้วแต่กรณี)

 

4.2 ส่ง กระทรวงมหาดไทย(กรณีผู้แต่งตั้งคณะกรรมการมิใช่ ผู้ว่าราชการจังหวัดให้ส่งเรื่องผ่านจังหวัด)

 

-  ภายใน 15 วัน
นับแต่วันวินิจฉัย

 

 

5

การดำเนินการภายหลังส่งสำนวนการสอบสวน ตามข้อ 4.1

 

 

 

 

 

- กรณีหัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่นเป็นผู้ตั้งคณะกรรมการ สรุปได้ดังนี้

 

 

 

 

 

5.1 กรณีหัวหน้าฝ่ายบริหารเห็นชอบกับผลการตรวจสอบของกระทรวงการคลังให้สั่งการตามความเห็นของกระทรวงการคลังแล้วรายงานจังหวัดและกระทรวงมหาดไทย

- โดยเร็ว

 

- หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ฯ ข้อ 18

- นส.  ที่ มท 0313.6/2092  ลว. 1 .. 2540

 

5.2 กรณีหัวหน้าฝ่ายบริหารมีความเห็นแย้งกับกระทรวงการคลังให้ส่งเรื่องให้จังหวัดหรืออำเภอแล้วแต่กรณีวินิจฉัย แล้วดำเนินการตามคำวินิจฉัยและรายงานผลการดำเนินการให้จังหวัด และกระทรวงมหาดไทย ทราบ

- ภายใน 7 วันนับแต่วันที่ได้รับผลการตรวจสอบจากกระทรวงการคลัง

 

- ผู้ว่าราชการจังหวัดนายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ

แล้วแต่กรณี

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ฯ ข้อ 18 วรรคหนึ่ง

- นส.  ที่ มท 0313.6/3134  ลว. 3 .. 2542

 

5.3 กรณีกระทรวงการคลังไม่แจ้งผลการตรวจสอบก่อนอายุความสองปีสิ้นสุดไม่น้อยกว่าหนึ่งปี ให้ท้องถิ่นมีคำสั่งตามที่เห็น      สมควร และแจ้งให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ แล้วรายงานจังหวัด และกระทรวงมหาดไทย ทราบ

- มีคำสั่งโดยเร็วและรายงานผลภายใน 7 วัน นับแต่วันที่มีคำสั่ง

 

 

-  หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น

-ระเบียบสำนักนายก

รัฐมนตรี ฯ ข้อ 17วรรคห้า

-นส.  ที่ มท 0313.6/2092  ลว.1 .. 2540

 

- กรณี ผู้ว่าราชการจังหวัดหรือนายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็น ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการ สรุปได้ดังนี้

- โดยเร็ว

 

 

 

 

6.1 กรณีกระทรวงการคลัง พิจารณาแล้วเสร็จ และผู้แต่งตั้ง เห็นชอบกับผลการตรวจสอบของกระทรวงการคลังให้สั่งการตามความเห็นของกระทรวงการคลังแล้วรายงานให้กระทรวงมหาดไทยทราบ

- โดยเร็ว

 

-  ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ  (ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือนายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอแล้วแต่กรณี)

-ะเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ฯ ข้อ 18 วรรคหนึ่ง

 

6.2 กรณีกระทรวงการคลังไม่แจ้งผลการตรวจสอบก่อนอายุความสองปีสิ้นสุดไม่น้อยกว่าหนึ่งปี ให้มีคำสั่งตามที่เห็นสมควร และแจ้งผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ แล้วรายงานกระทรวงมหาดไทย

- โดยเร็ว

 

- ผู้แต่งตั้งคณะกรรมการฯ(ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือนายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอแล้วแต่กรณี)

-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ฯ  ข้อ 17 วรรคห้า

7

ผู้บังคับบัญชา หรือผู้กำกับดูแลท้องถิ่น วินิจฉัยสั่งการกรณีท้องถิ่นมีความเห็นแย้งกับกระทรวงการคลัง ตามข้อ 5.2

 

 

-  ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือนายอำเภอ หรือปลัดอำเภอผู้เป็น หัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ  แล้วแต่กรณี

- นส. ที่ มท 0313.6/3134  ลว. 3 .. 2542

8

หลังจากการดำเนินการตามข้อ 5 หรือ ข้อ 6 แล้ว หากปรากฏว่ามีเจ้าหน้าที่ต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่ท้องถิ่น แต่ผู้ต้องรับผิดชอบไม่ยินยอม

ชดใช้ให้แก่ท้องถิ่นต้องฟ้องคดีต่อศาลอย่าให้ขาดอายุความตามกฎหมาย

- ภายในอายุความ 2 ปี นับแต่วันที่รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่

 

-  หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น

-  ... ละเมิดฯ มาตรา 10 วรรคสอง

 

ยกเว้น  กรณีผู้ต้องรับผิดชอบชดใช้ค่าเสียหายจากการทำละเมิด ที่ทำก่อน พ...ละเมิดฯ มีผลใช้บังคับ  (ก่อน 15 .. 39) จะต้องใช้หลักเกณฑ์อายุความละเมิดตามประมวลกฎหมาย   แพ่งฯ ซึ่งหากข้อเท็จจริงปรากฏว่า  มีผู้ต้องรับผิดชอบโดยชัดแจ้งและคดีใกล้ขาดอายุความ ให้ท้องถิ่นส่งเรื่องให้พนักงานอัยการดำเนินคดีแพ่งโดยเร็วโดยมิต้องรอผลการพิจารณาจากกระทรวงการคลังก่อน

- ภายในอายุความ 1 ปีนับแต่วันที่รู้ถึงการละเมิดและรู้ตัวเจ้าหน้าที่

 

-  หัวหน้าฝ่ายบริหารของท้องถิ่น

 

 

หน่วยงานส่วนกลาง

กองกฎหมายระเบียบท้องถิ่น

โทร 0-2241-9035

-  นส.  ที่ มท 0313.6/2621 ลว. 17 .. 2542

 

แนวทางปฏิบัติราชการเพื่อบริการประชาชน

องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น  (เทศบาล/ เมืองพัทยา)

 

เรื่อง แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันการทุจริตในการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน

 

ลำดับ
ที่

ขั้นตอนและวิธีปฏิบัติ

ระยะเวลา
ในการปฏิบัติ

ตัวชี้วัด
ผลการปฏิบัติงาน

หน่วยงาน/
ผู้รับผิดชอบ

หมายเหตุ
(กฎหมาย/ระเบียบ/
หนังสือสั่งการฯลฯ)

 

แนวทางปฏิบัติ

 

 

 

 

1

การบันทึกสอบสวนผู้ขอมีบัตรและผู้ให้การรับรอง กรณีขอมีบัตรใหม่เนื่องจากบัตรหายหรือบัตรถูกทำลาย พนักงานเจ้าหน้าที่จะต้องสังเกตรูปร่างหน้าตา กิริยาท่าทางและสำเนียงคำพูดของผู้ขอมีบัตร โดยให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นผู้ดำเนินการสอบสวนด้วยตนเอง     และให้ผู้ขอมีบัตรลงชื่อต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่เช่นเดียวกับกรณีที่จะต้องสอบสวนเจ้าบ้านหรือบุคคลผู้น่าเชื่อถือในการ  รับรองผู้ขอมีบัตร และให้พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ดำรงตำแหน่งในระดับเหนือตนขึ้นไปเป็นผู้พิจารณาตัดสินใจด้วยความรอบคอบ

เมื่อมีการยื่นขอบัตรใหม่    เนื่องจากบัตรหาย หรือบัตรถูกทำลาย

1. ไม่มีการทุจริตในการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน

2. มีการดำเนินการทางวินัยและอาญาตามกฎหมายอย่างเข้มงวดและจริงจังกับเจ้าหน้าที่ผู้กระทำทุจริตหรือมีส่วนร่วมรู้เห็น

พนักงานเจ้าหน้าที่ของสำนักทะเบียนท้องถิ่นเทศบาล หรือเมืองพัทยา

หนังสือกรมการปกครองที่ มท 0310.3/2283ลงวันที่ 9 กันยายน 2542

 

 

 

 

 

 

2

ให้กำชับเตือนกำนัน ผู้ใหญ่บ้าน เกี่ยวกับการให้การรับรองผู้ขอมีบัตรของกำนัน ผู้ใหญ่บ้านว่าหากทุจริตและให้คำรับรองอันเป็นเท็จจะมีความผิดทางอาญาอาจต้องระวาง  โทษ จำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงสิบห้าปี และปรับตั้งแต่สองหมื่นบาทถึงสามแสนบาท  ตามมาตรา 14  แห่งพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน  .. 2526 แก้ไขเพิ่มเติมโดยมาตรา 8 แห่งพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 2) .. 2542

เมื่อต้องมีการให้คำรับรอง

 

 

 

 

 

 

 

 

 

3

การทุจริตในการจัดทำบัตรประจำตัวประชาชน หากมีเจ้าหน้าที่ร่วมรู้เห็นหรือกระทำการร่วมด้วยไม่ว่า เจ้าหน้าที่ผู้นั้น จะมีหน้าที่ตามพระราชบัญญัติบัตรประจำตัวประชาชนหรือไม่ก็ตาม ถือเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ให้พิจารณาแต่งตั้งคณะกรรมการสอบสวนทางวินัยโดยด่วน และควรสั่งให้พักราชการไว้ก่อน

โดยด่วน

 

 

หนังสือกระทรวงมหาดไทย ที่ มท 0310.3/3472 ลงวันที่ 5 พฤศจิกายน 2540

 

 

 

 

 

 

4

การตรวจสอบข้อเท็จจริงและการดำเนินคดี หากมีเจ้าหน้าที่ร่วมด้วยให้ดำเนินการตามข้อ 3   และพิจารณาดำเนินคดีอาญาแล้วสั่งจำหน่ายหลักฐานรายการเกี่ยวกับบัตรประจำตัวประชาชนพร้อมกับหมายเหตุข้อความลงบนเอกสารเกี่ยวกับบัตรที่สั่งจำหน่าย สำหรับสำนักทะเบียนซึ่งกำหนดให้เป็นท้องที่จังหวัด  สำหรับการออกบัตรด้วยระบบคอมพิวเตอร์ ให้หมายเหตุยกเลิกหรือจำหน่ายฐานข้อมูลทะเบียนบัตรตรงช่อง “สาเหตุการยกเลิก” ด้วย เช่น “คนต่างด้าวสวนตัว” หรือ “แสดงเอกสารเท็จ”  เป็นต้น  และบันทึกตรงช่อง “บันทึกเพิ่มเติม” ด้วย  เช่น “จำหน่ายตามหนังสือ (ระบุชื่ออำเภอ) ที่ … ลงวันที่ …”  ไว้เป็นหลักฐานแล้ว    รายงานผล

โดยด่วน

 

 

หนังสือกระทรวงมหาดไทย

ปกปิด ที่ มท 0310.3/174

ลงวันที่ 31 สิงหาคม 2537

 

 

 

 

 

 

 

Back