 |
|
 |
|
ชื่อท้องถิ่น |
หวม อวม (สุราษฏร์ธานี) |
ชื่อวงศ์ |
ไม่มี |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
ไม่มี |
ลักษณะลำต้น |
เป็นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ ลำต้นสี น้ำตาลอ่อน ทรงพุ่ม |
ลักษณะใบ |
เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวลักษณะรีปลายแหลม ความกว้างประมาณ 1.0-2.5 นิ้ว ความยาว 6-7 นิ้ว ขอบใบเรียบ ผิวหน้าใบลื่นมัน สีเขียว ส่วนหลังใบสีเขียวอ่อน ผิวขรุขระเล็กน้อย แต่ละก้านใบประกอบ ด้วยใบ 3 ใบ |
ลักษณะดอก |
ดอกคล้ายดอกกระท่อม ขนาดประมาณ 1 นิ้ว สีขาวเขียว ออกตามรายกิ่งระหว่างโคนกับก้านใบ |
ลักษณะผล |
เป็นกระจุก จำนวน 5-6 ผล ออกตาม ลำกิ่งคล้ายเมล็ดพริกไทยแต่โตกว่าเล็กน้อย |
ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร |
ยอด ใบเพสลาด |
ใช้เป็นอาหารประเภท |
ยอดใช้เป็นผักเหนาะหรือหั่นฝอยกินกับข้าวยำ |
รสชาติ |
ขมเจือมัน กลิ่นหอม |
ส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ |
เพาะเมล็ด หรือลำต้นอ่อน |
พื้นที่ที่เจริญเติบโตได้ดี |
เขตป่าเขา และที่ราบสูง |
ฤดูกาลที่ให้ผลผลิต |
ตลอดปี |
ส่วนที่เป็นพิษ |
ไม่มี |
ประโยชน์ใช้สอย |
ลำต้นใช้แปรรูปทำเฟอร์นิเจอร์ได้ |
ความเชื่อ |
ไม่มี |
สรรพคุณทางสมุนไพร |
บำรุงโลหิตและดี เจริญอาหาร แก้โลหิตพิการ บำรุงเส้นเอ็น บำรุงไขข้อ ทำให้เกิดความอบอุ่นแก่ร่างกาย |
|