 |
|
 |
|
ชื่อท้องถิ่น |
บังกาย ฝีเสื้อ กะดังบาย |
ชื่อวงศ์ |
LEEACEAE |
ชื่อวิทยาศาสตร์ |
Lcca indica Merr. |
ลักษณะลำต้น |
ออกเป็นพุ่มโปร่ง สูงประมาณ 3 เมตร |
ลักษณะใบ |
ใบเลี้ยงคู่ ใบเรียว ปลายแหลม ขอบใบเป็นหยัก ผิวหน้ามัน หลังใบมีเส้นใบนูน ก้านใบแต่ละก้านมีใบ 3-5 ใบ แตกออกเป็นชิ้น ๆ ตามข้อลำต้น |
ลักษณะดอก |
ดอกตูมสีเขียว ออกดอกส่วนอด ดอกบานสีขาว |
ลักษณะผล |
ผลแก่สีเขียว ผลสุกสีดำ |
ส่วนที่ใช้เป็นอาหาร |
ยอดอ่อน ยอด ดอก |
ใช้เป็นอาหารประเภท |
ใช้ยอด ผลอ่อน และดอกทำผักเหนาะ |
รสชาติ |
ฝาด มัน |
ส่วนที่ใช้ขยายพันธุ์ |
ผลสุก |
พื้นที่ที่เจริญเติบโตได้ดี |
ในป่าทั่วไป ๆ บนเขา ที่ราบเชิงเขา |
ฤดูกาลที่ให้ผลผลิต |
ตลอดปี |
ส่วนที่เป็นพิษ |
ไม่มี |
ประโยชน์ใช้สอย |
ไม่มี |
ความเชื่อ |
ไม่มี |
สรรพคุณทางสมุนไพร |
ทั้งต้นแก้ถูกคุณไสย ขับเหงื่อ ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้ปวดตามร่างกาย |
|