![]() |
||
สุนทรภู่ให้รู้จักรักบิดามารดาและรู้จักรักตัวเองเพราะเป็นที่พึ่ง แต่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า |
||
ทรงสอนไว้ลึกซื้งยิ่งกว่านั้น | ||
พระพุทธเจ้าสอนให้รักและเคารพใน "ทิศ 6" ซึ่งหมายถึงถึง บุคคลต่างๆ ที่เราต้องเกี่ยวข้องสัมพันธ์ |
||
ทางสังคม ท่านสอนว่า ผู้ที่เราควรให้ความรัก ความเคารพ และสำนึกในบุญคุณนั้น เปรียบได้ดังทิศที่อยู่รอบตัว | ||
หากจะให้เรานึกถึงทิศที่อยู่รอบตัว เราคงนึกได้เพียง 4 ทิศ คือ ทิศเบื้องหน้า ทิศเบื้องหลัง ทิศเบื้อง |
||
ซ้าย และทิศเบื้องขวา แต่สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าท่านทรงสอนไว้ลึกซึ้งกว่านั้นว่า ยังมีทิศเบื้องล่างและทิศเบื้องบนอีก 2 ทิศ รวมทั้งหมดเป็นทิศ 6 | ||
ท่านเจ้าคุณพระธรรมปิฎก อธิบายไว้ในหนังสือ "พจนานุกรมพุทธศาสตร์" ว่า |
||
![]() |
||
อุปการะแก่เรามาก่อน) ท่านให้คำอธิบายต่อไปว่า | ||
ก. บุตรพึงบำรุงมารดาบิดาผู้เป็นทิศเบื้องหน้าดังนี้ |
||
|
||
ข. มารดาบิดาย่อมอนุเคราะห์บุตรธิดาดังนี้ |
||
|
||
![]() |
||
ควรแก่การบูชา ท่านอธิบายความหมายของทิศนี้ว่า | ||
ก. ศิษย์พึงบำรุงอาจารย์ผู้เป็นทิศเบื้องขวา ดังนี้ |
||
|
||
ข. ครูอาจารย์ย่อมอนุเคราะห์ศิษย์ดังนี้ |
||
|
||
![]() |
||
เป็นกำลังสนับสนุนอยู่ข้างหลัง ทิศปัจฉิมนี้มีคำอธิบายไว้ดังนี้ | ||
ก. สามีพึงบำรุงภรรยา |
||
|
||
ข. ภรรยาย่อมอนุเคราะห์สามีดังนี้ |
||
|
||
![]() |
||
อุปสรรคภัยอันตราย และเป็นกำลังสนับสนุนให้บรรลุความสำเร็จ ทิศนี้ ท่านอธิบายขยายความไว้ดังนี้ | ||
ก. บุคคลพึงบำรุงมิตรสหายผู้เป็นทิศเบื้องซ้าย ดังนี้ |
||
|
||
ข. มิตรย่อมอนุเคราะห์ตอบดังนี้ |
||
|
||
![]() |
||
ต่างๆ เป็นฐานกำลังให้ | ||
ก. นายพึงบำรุงคนรับใช้และคนงานผู้เป็นทิศเบื้องล่างดังนี้ |
||
|
||
ข. คนรับใช้และคนงานย่อมอนุเคราะห์นายดังนี้ |
||
|
||
![]() |
||
คุณธรรมและเป็นผู้นำทางจิตใจ | ||
ก. คฤหัสถ์ย่อมบำรุงพระสงฆืผู้เป็นทิศเบื้องบน ดังนี้ |
||
|
||
ข. พระสงฆ์ย่อมอนุเคราะห์คฤหัสถ์ดังนี้ |
||
|
||
ที่กล่าวมาทั้ง 6 ทิศนี้ คือ หนทางปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบด้วยของมนุษย์ที่อยู่ร่วมกันในสังคมด้วยความรัก |
||
และความเอื้ออาทรต่อกัน ระหว่างผู้เป็นลูกกับมารดาบิดา ระหว่างผู้เป็นครูอาจารย์กับศิษย์ ระหว่างผู้เป็นภรรยากับสามี ระหว่างผู้ที่เป็นมิตรสหายที่หวังดีต่อกัน ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใช้แรงงานและลูกน้อง และระหว่างคฤหัสถ์กับบรรพชิต | ||
สังคมมนุษย์จะมีสันติสุขด้วยความปรารถนาและช่วยเหลือกันในหมู่มนุษย์ที่เป็นพลเมือง |
||
ของโลก | ||
ความรักเป็นรากฐานของความปรารถนาดี และความเอื้ออาทรระหว่างมนุษย์ |
||
ขอให้พิจารณาด้วยเหตุผลและความถูกต้อง เพื่อความอยู่เย็นเป็นสุขของเพื่อนร่วมชีวิต |
ที่มา: คัมภีร์ครอบครัว ประจำปี 2544. กรุงเทพฯ: สมาคมวางแผนครอบครัวแห่งประเทศไทย, 2544.
(หน้า63 - 67) |
[อ่านบทความย้อนหลัง] |