|
อำเภอชะอวดมีประชากรทั้งสิ้น 82,956 คน แยกเป็นชาย 40,142 คน หญิง 42,814 คน มีความหนาแน่นเฉลี่ยต่อพื้นที่ประมาณ 96 คน/ตารางกิโลเมตร ประชากรสามารถแยกเป็นรายตำบลได้ดังนี้
ลำดับที่ |
ตำบล |
จำนวนครัวเรือน |
ชาย(คน) |
หญิง(คน) |
รวม(คน) |
หมายเหตุ |
1. |
ชะอวด |
3,343 |
6,438 |
6,715 |
13,153 |
|
2. |
ท่าเสม็ด |
1,017 |
2,330 |
2,487 |
4,817 |
|
3. |
นางหลง |
1,549 |
3,268 |
3,465 |
6,733 |
|
4. |
ท่าประจะ |
1,777 |
3,602 |
3,725 |
7,327 |
|
5. |
เกาะขันธ์ |
2,022 |
4,479 |
4,454 |
8,933 |
|
6. |
วังอ่าง |
2,079 |
4,529 |
4,379 |
8,908 |
|
7. |
เขาพระทอง |
1,515 |
3,411 |
3,430 |
6,841 |
|
8. |
ควนหนองหงษ์ |
1,555 |
3,286 |
3,297 |
6,583 |
|
9. |
บ้านตูล |
1,490 |
3,466 |
3,550 |
7,016 |
|
10. |
ขอนหาด |
1,446 |
3,128 |
3,356 |
6,484 |
|
11. |
เคร็ง |
1,640 |
3,881 |
4,048 |
7,929 |
|
|
รวม |
19,373 |
41,818 |
42,906 |
84,724 |
|
ที่มา : สำนักทะเบียนอำเภอชะอวด ณ วันที่ 31 ต.ค. 2543
การปกครอง
อำเภอชะอวด แบ่งการปกครองออกเป็น 11 ตำบล 81 หมู่บ้าน เป็นหมู่บ้าน อพป. 32 หมู่บ้าน
การมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
ลำดับที่ |
ประเภทการเลือกตั้ง |
ผู้มีสิทธิ์ (คน) |
ผู้ใช้สิทธิ์ (คน) |
ร้อยละ |
บัตรเสีย (ร้อยละ) |
1. |
สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร เมื่อวันที่ 17 พ.ย. 2539 |
51,225 |
28,735 |
56.10 |
1.28 |
2. |
สมาชิกสภาเทศบาลตำบลชะอวด เมื่อวันที่ 21 พ.ย. 2542 |
3,335 |
1,894 |
56.79 |
8.71 |
3. |
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2543 |
56,445 |
32,630 |
57.81 |
2.40 |
4. |
สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน 2543 |
49,293 |
33,107 |
67.16 |
1.83(607 บัตร) |
ที่มา : ที่ทำการปกครองอำเภอชะอวด เทศบาลตำบลชะอวด
จำนวนของสมาชิกวุฒิสภาประจำจังหวัด สมาชิกสภาผู้แทนราษฏร สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนจังหวัด
1. สมาชิกวุฒิสภาประจำจังหวัด จำนวน 5 คน
2. สมาชิกสภาผู้แทนราษฏรเขต 2 จังหวัดนครศรีธรรมราช จำนวน 3 คน
3. สมาชิกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เขตอำเภอชะอวด จำนวน 2 คน
ความคิดทางการเมืองและการมีส่วนร่วมของประชาชนชาวอำเภอชะอวด มีความสนใจทางการเมือง การบริหารเป็นอย่างสูง โดยมีการติดตามนโยบายการดำเนินงานของรัฐบาลอย่างต่อเนื่อง มีการรับทราบข่าวสาร วิจารณ์การเมืองในแง่มุมต่าง ๆ การเข้าเป็นสมาชิกพรรคการเมือง และมีการเลือกพรรคหนึ่งพรรคเดียว รู้จักใช้สิทธิเลือกตั้งในระบบพรรค ในการเลือกตั้ง ทุกระดับบางครั้งมีผู้มาใช้สิทธิค่อนข้างต่ำ เนื่องจากราษฏรส่วนใหญ่ออกไปประกอบอาชีพต่างถิ่น
สถาบันและองค์กรที่ตั้งในอำเภอ
หน่วยบริหารราชการส่วนกลาง
1. |
สำนักงานการประถมศึกษาอำเภอชะอวด |
2. |
โรงพยาบาลชะอวด |
3. |
ศูนย์ควบคุมโรคติดต่อนำโดยแมลงที่ 8 อำเภอชะอวด |
4. |
โครงการชลประทานไม้เสียบ |
5. |
หน่วยป้องกันรักษาป่าที่ นศ 14 (ชะอวด) |
6. |
เขตห้ามล่าสัตว์ป่าทะเลน้อย จ.พัทลุง สงขลา นครศรีธรรรมราช |
หน่วยบริหารราชการส่วนภูมิภาค
1. |
ที่ทำการปกครองอำเภอ |
2. |
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอชะอวด |
3. |
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอชะอวด |
4. |
สำนักงานที่ดินอำเภอชะอวด |
5. |
สำนักงานสรรพากรอำเภอชะอวด |
6. |
สถานีตำรวจภูธรอำเภอชะอวด |
7. |
สำนักงานป่าไม้อำเภอชะอวด |
8. |
สำนักงานศึกษาธิการอำเภอชะอวด |
9. |
สำนักงานเกษตรอำเภอชะอวด |
10. |
ที่ทำการสัสดีอำเภอชะอวด |
11. |
สำนักงานปศุสัตว์อำเภอชะอวด |
12. |
สำนักงานประมงอำเภอชะอวด |
13. |
สำนักงานสรรพสามิตอำเภอชะอวด |
14. |
สำนักงานสหกรณ์อำเภอชะอวด |
หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ
1. |
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอชะอวด |
2. |
การประปาอำเภอชะอวด |
3. |
สำนักงานบริการโทรศัพท์อำเภอชะอวด |
4. |
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร อำเภอชะอวด |
5. |
ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลขอำเภอชะอวด |
6. |
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สาขาชะอวด |
7. |
สถานีรถไฟชะอวด บ้านตูล นางหลง ขอนหาด |
8. |
ธนาคารออมสิน สาขาชะอวด |
หน่วยบริหารราชการส่วนท้องถิ่น
1. |
เทศบาลตำบลชะอวด |
2. |
องค์การบริหารส่วนตำบลชะอวด |
3. |
องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านตูล |
4. |
องค์การบริหารส่วนตำบลควนหนองหงษ์ |
5. |
องค์การบริหารส่วนตำบลเขาพระทอง |
6. |
องค์การบริหารส่วนตำบลท่าประจะ |
7. |
องค์การบริหารส่วนตำบลวังอ่าง |
8. |
องค์การบริหารส่วนตำบลเกาะขันธ์ |
9. |
องค์การบริหารส่วนตำบลขอนหาด |
10. |
องค์การบริหารส่วนตำบลนางหลง |
11. |
องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเสม็ด |
12. |
องค์การบริหารส่วนตำบลเคร็ง |
|