ส่วนที่ 1          

บทนำ

  1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปี
  1.2 วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี
  1.3 ขั้นตอนในการจัดทำแผนพัฒนาสามปี
  1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปี

ส่วนที่ 2

สรุปผลการพัฒนาเทศบาลในปีที่ผ่านมา

  2.1 การสรุปสถานการณ์พัฒนา
  2.2 การประเมินผลการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติเชิงปริมาณ
  2.3 การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพ

ส่วนที่ 3

การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติ

  3.1 แนวทางการพัฒนาหรือกลยุทธ์ตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนา
  3.2 บัญชีโครงการพัฒนาและบัญชีประสานโครงการพัฒนา
  ผ ๐๑ บัญชีโครงการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ที่ 1

พัฒนาการศึกษา ศาสนา ประเพณี ศิลปวัฒนธรรม  และการกีฬาแบบบูรณาการสู่คุณภาพมาตรฐานที่เหนือกว่า

แนวทางที่ 1

พัฒนาผู้เรียนให้มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม ค่านิยมที่เหมาะสม มีความรู้คู่คุณธรรม  สร้างโอกาสในการเรียนรู้ ตามเกณฑ์มาตรฐาน และสามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข

แนวทางที่ 2

พัฒนาผู้เรียนให้ได้รับโอกาสในการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้นและมีคุณภาพ

แนวทางที่ 3

พัฒนาหลักสูตร สนับสนุนงานวิจัยด้านการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีความโดดเด่นทุกกลุ่มสาระสอดคล้องกับความต้องการท้องถิ่น สะท้อนเอกลักษณ์ของชุมชนและมีการขยายผลไปสู่การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ

แนวทางที่ 4

พัฒนาเด็กก่อนวัยเรียนให้มีความพร้อมทุกด้านโดยจัดตั้งโรงเรียนและพัฒนาระบบบริหารจัดการ "รีสอร์ทอนุบาล" และศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

แนวทางที่ 5

พัฒนาครูต้นแบบและบุคลากรทางการศึกษาให้ได้มาตรฐานและมีความเป็นเลิศ โดยมุ่งเน้นการประยุกต์ใช้ เครื่องมือเทคโนโลยีสารสนเทศและนวัตรกรรมสมัยใหม่ในการจัดการการเรียนการสอนและการบริหารการศึกษา

แนวทางที่ 6

พัฒนาศูนย์เรียนรู้ให้เป็นห้องเรียนต้นแบบเพื่อเสริมสร้างการพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนทั้ง 5 ด้าน

แนวทางที่ 7

สนับสนุนการกีฬาเพื่อสุขภาพ พัฒนาสู่ความเป็นเลิศและสู่มืออาชีพในระดับสากลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการโรงเรียนและระบบโครงสร้างพื้นฐานด้านกีฬาให้ได้มาตรฐาน

แนวทางที่ 8

สร้างระบบบริหารจัดการของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมืองทุ่งสง  เสริมสร้างการมีส่วนร่วมบริหารจัดการของภาคีทุกภาคส่วนอย่างมีคุณภาพเป็นระบบและได้มาตรฐาน

แนวทางที่ 9

พัฒนาระบบโรงเรียนมัธยมศึกษาให้มีคุณภาพได้มาตรฐานและมุ่งเน้นความเป็นเลิศในด้านวิชาการและด้านสังคม

แนวทางที่ 10

นำภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม อาชีพมาเป็นแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา

 

 

ยุทธศาสตร์ที่ 2

ร่วมกันจัดวางผังเมือง พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน รักษาสิ่งแวดล้อม ป้องกันน้ำท่วม  สู่เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน

แนวทางที่ 1

บูรณาการความร่วมมือทุกภาคส่วนอย่างคุณภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยเมืองทุ่งสงแบบบูรณาการให้ยั่งยืนโดยบูรณาการการพัฒนาด้านกายภาพและด้านกระบวนการทางสังคมอย่างเชื่อมโยงและต่อเนื่อง

แนวทางที่ 2

สร้างกระบวนการเรียนรู้กฎหมายผังเมืองรวมเมืองทุ่งสง และส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติ

แนวทางที่ 3

พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานโครงข่ายถนน ระบบระบายน้ำ ไฟฟ้า ประปา โทรศัพท์ ให้เพียงพอ และปรับปรุงบำรุงรักษาอาคารสถานที่สาธารณะ ขนส่งที่ทันสมัย ภายใต้กรอบความร่วมมือระหว่างภาครัฐ รัฐวิสาหกิจและเอกชน

แนวทางที่ 4

ปรับปรุงและพัฒนาพื้นที่สวนสาธารณะ สวนหย่อม และปรับปรุงภูมิทัศน์ในเขตเทศบาลให้สวยงามเป็นระเบียบโดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

แนวทางที่ 6

ปรับปรุงพัฒนาและบริหารจัดการตลาดสด  ตลาดนัด ตลาดคนเดิน  ให้สวยงาม  สะอาด ถูกหลักสุขาภิบาลโดยการมีส่วนร่วม

แนวทางที่ 7

ส่งเสริม  อนุรักษ์  ฟื้นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

แนวทางที่ 8

จัดระบบจราจรให้มีระเบียบและสร้างวินัยจราจรแก่ประชาชน โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมแบบบูรณาการ

แนวทางที่ 9

ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการขยะมูลฝอยของเทศบาลให้มีประสิทธิภาพถูกหลักสุขาภิบาล  สร้างเครือข่ายทุกภาคีมีส่วนร่วม สามารถลดปริมาณขยะ และการนำขยะกลับมาใช้ใหม่อย่างมีประสิทธิภาพ

แนวทางที่ 10

บริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสียที่มีอยู่ให้มีประสิทธิภาพโดยประชาชนมีส่วนร่วมและขยายระบบบำบัดน้ำเสียให้ครอบคลุมพื้นที่เขตเทศบาล

แนวทางที่ 11

รณรงค์ส่งเสริมการประหยัดพลังงานไฟฟ้าและน้ำมันและสนับสนุนการใช้พลังงานทางเลือก

แนวทางที่ 12

ส่งเสริมทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมพัฒนาเมืองทุ่งสงสู่เมืองคาร์บอนต่ำ เมืองจักรยาน เมืองรู้สู้ภัยพิบัติ

   

ยุทธศาสตร์ที่ 3

ร่วมกันพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม สู่คุณภาพชีวิตที่ดีกว่า

แนวทางที่ 1

ส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการลงทุนด้านคมนาคมขนส่ง รองรับการขยายการลงทุนภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมและขยายการจ้างงานในพื้นที่ให้สามารถลดต้นทุนและเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน

แนวทางที่ 2

พัฒนาทักษะและส่งเสริมอาชีพแก่กลุ่มผู้จ้างงาน กลุ่มอาชีพ ผู้ด้อยโอกาส ยากจน ภายใต้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

แนวทางที่ 3

ส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายธุรกิจการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ เชิงวัฒนธรรม และการกีฬา เชื่อมต่อแหล่งท่องเที่ยวเชิงและกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวของเมืองทุ่งสงเชื่อมโยงกับพื้นที่ใกล้เคียงโดยชุมชนมีส่วนร่วม

แนวทางที่ 4

ส่งเสริมสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสาธารณสุขให้ทั่วถึงและมีคุณภาพสูง ทั้งในด้านการป้องกัน การรักษาและการฟื้นฟู โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

แนวทางที่ 5

จัดระบบป้องกันอาชญากรรม ยาเสพติด และอบายมุข โดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

แนวทางที่ 6

พัฒนาระบบป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย ภัยพิบัติ ให้มีประสิทธิภาพโดยทุกภาคส่วนมีส่วนร่วม

แนวทางที่ 7

ส่งเสริมสวัสดิการชุมชนโดยจัดสวัสดิการแก่คนชรา  ผู้ด้อยโอกาส คนพิการ คนยากจน ให้พอเพียงแก่การดำรงชีพและเป็นธรรม

   

ยุทธศาสตร์ที่ 4

ปรับปรุงและพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรเทศบาลและองค์กรชุมชนสู่การบริหารจัดการที่ดีโดยทุกภาคีมีส่วนร่วมแบบบูรณาการรองรับความเปลี่ยนแปลงสู่เทศบาลอัจฉริยะ

แนวทางที่ 1

ปรับปรุงและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการและเพื่อการบริการประชาชนของเทศบาลและของชุมชนให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐานสามารถเข้าถึงได้ง่ายสะดวกในการใช้ประโยชน์

แนวทางที่ 2

พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้มีความรู้และทักษะในการทำงานเฉพาะด้านและทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพและยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ตามหลักธรรมาภิบาลผ่านเกณฑ์การบริหารจัดการที่ดี

แนวทางที่ 3

ปรับปรุงและพัฒนาระบบการสื่อสารเพื่อการพัฒนางานและพัฒนาชุมชนให้มีประสิทธิภาพ และลดขั้นตอนปฏิบัติงาน

แนวทางที่ 4

พัฒนาระบบบริการทุกกระบวนงานบริการของเทศบาลโดยส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างเข้มแข็ง

แนวทางที่ 5

เพิ่มประสิทธิภาพและพัฒนาการจัดเก็บรายได้ของเทศบาลให้ครบถ้วน ทั่วถึง และเป็นธรรม

แนวทางที่ 6

ส่งเสริมการมีส่วนร่วมทางการเมืองการบริหารสู่การพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืน

แนวทางที่ 7

ปรับปรุงและพัฒนาเครื่องมือเครื่องใช้และสถานที่ปฏิบัติงาน

แนวทางที่ 8

ส่งเสริมองค์กรชุมชน (อบช.) ทุกองค์การบริหารชุมชน/กลุ่มต่าง ๆ ให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาเมืองอย่างเข้มแข็ง และบูรณาการความร่วมมือจากทุกภาคส่วน

บัญชีประสานโครงการพัฒนา
บัญชีสรุปโครงการพัฒนา

ส่วนที่ 4

แนวทางการติดตามประเมินผล

 
แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 1
แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 2
แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 3

แก้ไขเพิ่มเติมฉบับที่ 4

 
อ่านย้อนหลัง
 
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2559-2561)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2558-2560)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2557-2559)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2556-2558)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2555-2557)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2554-2556)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2553-2555)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2552-2554)
แผนพัฒนาสามปี เทศบาลเมืองทุ่งสง (พ.ศ.2551-2553)