http://www.tungsong.com

ที่มาของโครงการ | คุณลักษณะที่สำคัญของนวัตกรรมท้องถิ่น | วัตถุประสงค์และเป้าหมาย | ความสำคัญของโครงการ | ขั้นตอนและกิจกรรมหลักที่ได้ดำเนินการ | งบประมาณ
ผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่ได้ | ปัญหาอุปสรรค | ปัจจัยแห่งความสำเร็จ | ข้อเสนอแนะ | รางวัลนวัตกรรมท้องถิ่น | ศึกษาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

 
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการดเนินโครงการนวัตกรรม
 
วัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชีวัด
1. เพื่อฟื้นฟูระบบนเวศคลองทาแพและสวนพฤกษาสิรินธร ฟื้นคืน พืช แมลง และสัตว์น้ำ ในคลองและริมคลอง - ปริมาณชนิดและจนวนพืช แมลงสัตว์น้ำเพิ่มขึ้นเห็นได้ชัดเจน
- เจอกุ้งก้ามกรามน้ำหนัก 4-5 ตัวต่อกิโลกรัมในคลองท่าแพ
2. เพื่อป้องกันปัญหาภัยแล้งอย่างถาวร ชุมนบ้านในหวัง มีน้ำใช้ในหน้าแล้งอย่างเพียงพอตลอดปี - น้ำบริเวณหน้าฝายมีชีวิตสามารถยกระดับความสูงได้ 1.50 เมตรตลอดปี
3. เพื่อส่งเสริมการมีส่วนร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาท้องถิ่นและความรู้ทางวิชาการกับชุมชนภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง และถ่ายทอดองค์ความรู้เพื่อสร้างความตระหนักแก่เด็ก เยาวชน และประชาชน - จัดอบรมเชิงปฏิบัติการ สร้างฝายมีชีวิตโดยเชิญผู้คิดค้นนวัตกรรมให้กับภาคีที่เกี่ยวข้องมาเป็นผู้ถ่ายทอด จนวน 1 ครั้ง
- พัฒนาความรู้ที่ได้รับ เชื่อมโยงกิจกรรม เพิ่มฐานการเรียนรู้ “ฝายมีชีวิต” ถ่ายทอดให้แก่เด็ก เยาวชน และประชาชน ใน “ชุมทางลดโลกร้อน ทุ่งสง”  และพื้นที่อื่น ๆ ทั้งในจังหวัดนครศรีธรรมราชและจังหวัดอื่น
- เกิดฝายมีชีวิตตัวใหม่เพิ่มขึ้น
-  มีผู้เข้าร่วมการอบรมและเริ่มต้นทฝายร่วมกัน 29 องค์กรและหน่วยงาน รวมจนวน 238 คน
-  มีเด็กเยาวชนและประชาชนมาเรียนรู้ในปี 2558-2559 จนวน 21 ครั้ง รวม 2,450คน
-  มีการถ่ายทอดความรู้แก่พื้นที่อื่น จนวน 5 ครั้ง
-  ฝายมีชีวิตตัวใหม่ จนวน 4 ตัวในคลองท่าโหลน คลองท่าเลา พื้นที่เทศบาลเมืองทุ่งสง